dc.contributor.author |
โตระสะ, ชนมภัทร |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T02:59:29Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T02:59:29Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/120 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศ และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เมื่อเกิดน้าท่วมขังก็จะส่งผลกระทบต่อประชาชน และเศรษฐกิจต่างๆ มากมาย สานักการระบายน้ากรุงเทพมหานครจึงได้พัฒนางานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้าท่วมภายในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องโดยจัดทาระบบทานายน้าท่วม ซึ่งเป็นระบบที่สามารถแจ้งเตือนภัยให้ทราบถึงพื้นที่เสี่ยงภัยน้าท่วมเป็นการล่วงหน้าประมาณ 3 - 12 ชั่วโมง แต่ข้อมูลที่นามาใช้นั้นเป็นการตรวจวัดปริมาณฝนเมื่อเกิดฝนตกมาแล้วเท่านั้น ซึ่งยังมีความต้องการข้อมูลอื่นๆ ที่สามารถจะทานายฝนตกได้ล่วงหน้า การใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมจึงเป็นข้อมูลประเภทหนึ่งซึ่งสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการทานายฝนตกได้ การประมาณการฝนแบบเวลาจริง (Real time) หรือใกล้เวลาจริง (Near-real time) เป็นการประมาณการในระยะสั้นที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อการวางแผน การเตรียมการ การดาเนินการป้องกันภัยพิบัติที่เกิดจากฝนได้อย่างทันเวลา |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2554 |
TH |
dc.subject |
แบบจาลอง |
th_TH |
dc.subject |
ประมาณการฝนตก |
th_TH |
dc.subject |
ข้อมูล APT |
th_TH |
dc.title |
การสร้างแบบจาลองการประมาณการฝนตกแบบใกล้เวลาจริงโดยใช้ ภาพ 2 ช่วงคลื่นจากข้อมูล APT |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |