การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

DSpace/Manakin Repository

การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author และคณะ, ดร.ขันทอง ใจดี
dc.date.accessioned 2018-12-14T07:00:07Z
dc.date.available 2018-12-14T07:00:07Z
dc.date.issued 2018-12-14
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/1223
dc.description งานวิจัยงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง “การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาค กลางของประเทศไทย” ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ เพื่อสร้างความ เข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย และศึกษาระดับการบริหารสหกรณ์ออม ทรัพย์ใน 6 ด้าน ได้แก่ หลักการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์ โครงสร้างการบริหารของสหกรณ์ออม ทรัพย์ การมีส่วนร่วมของสมาชิก ความโปร่งใสในการดาเนินงาน การบริหารจัดการทุน และการประเมินผล การดาเนินงาน ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย ตลอดจนเพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลสาคัญต่อการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนใน พื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method Research) สาหรับการ วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) คณะผู้วิจัยดาเนินการวิจัยและเก็บรวมรวมข้อมูลโดยดาเนิน การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของแต่ละสหกรณ์จากเอกสารต่าง ๆ ของสหกรณ์ และดาเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของกลุ่มที่มีส่วนในการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ จานวน 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ กลุ่มคณะกรรมการดาเนินการ และกลุ่มของฝ่ายจัดการ ในจังหวัดพื้นที่ภาค กลาง จานวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดนครนายก รวมจานวน 30 แห่ง สาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) คณะผู้วิจัยดาเนินการวิจัยและเก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้โดยผู้สัมภาษณ์เป็นเครื่องมือหลักการเก็บรวบรวมข้อมูล ผ่านแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่ม สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ในจังหวัดพื้นที่ภาคกลาง จานวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี จังหวัด เพชรบุรี และจังหวัดนครนายก จานวนกลุ่มตัวอย่าง 420 คน และใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test, F-test และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression) เพื่อศึกษาระดับการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ใน 6 ด้าน ได้แก่ หลักการบริหารจัดการ สหกรณ์ออมทรัพย์ โครงสร้างการบริหารของสหกรณ์ออมทรัพย์ การมีส่วนร่วมของสมาชิก ความโปร่งใสใน การดาเนินงาน การบริหารจัดการทุน และการประเมินผลการดาเนินงาน ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของ เศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2561;
dc.subject - th_TH
dc.subject - th_TH
dc.title การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
รายงานวิจัยสหกรณ์ฉบับสมบูรณ์_วิจัยสหกรณ์.pdf 9.828Mb PDF View/Open งานวิจัยสมบูรณ์

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account