dc.contributor.author |
หิรัญแพทย์, อาจารย์ อัญชลี |
|
dc.date.accessioned |
2018-12-14T07:05:01Z |
|
dc.date.available |
2018-12-14T07:05:01Z |
|
dc.date.issued |
2018-12-14 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1224 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยงานนี มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อค้นหาลักษณะการจัดการโซ่อุปทานกล้วยน้าว้าของเกษตรกรในจังหวัด นครปฐม 2. เพื่อท้าการศึกษาวิเคราะห์การจัดการโซ่อุปทานกล้วยน้าว้าของเกษตรกรในจังหวัด นครปฐม 3. เพื่อน้าระบบการจัดการโซ่อุปทานกล้วยน้าว้าที่ดีที่สุดถ่ายทอดไปสู่เกษตรกรเพื่อน้าไปปฏิบัติการบริหารจัดการโซ่อุปทานของตนเอง โดยวิเคราะห์กระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทานกับสภาพการด้าเนินงานของเกษตรกรผู้ปลูกกล้วยน้าว้าในจังหวัดนครปฐม มีวิธีด้าเนินการวิจัยด้วยวิธีการปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research :PAR) โดยอาศัยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (qualitative research method ) วิธีการศึกษาเชิงปริมาณ (quantitative research method) เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจ้านวน 401 ราย เชิงคุณภาพ จ้านวน 40 ราย เป็นการเก็บข้อมูลด้านการจัดการโซ่อุปทานกล้วยน้าว้า
ผลการวิจัยพบว่าการจัดการโซ่อุทานกล้วยน้าว้าของเกษตรกรผู้ปลูกกล้วยน้าว้าในจังหวัดนครปฐมโดยพิจารณากระบวนการจัดการแบบ SCOR Model พบว่ามีความเชื่อมโยงกระบวนการท้างานที่เกี่ยวข้องกันคือ 1. การวางแผน มีการวางแผนตั งแต่การเลือกพันธุ์กล้วยน้าว้า และบางรายมีการปลูกตามความต้องการซื อของลูกค้า 2. การจัดซื อจัดหา ไม่ว่าจะเป็นต้นกล้า ปุ๋ย มีแหล่งในการจัดซื อจัดหาที่ชัดเจน 3. การเพาะปลูก เกษตกรมีการเตรียมการเพาะปลูกเป็นขั นเป็นตอน 4. การผลิต ผลผลิตที่ได้จากกล้วยน้าว้าสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ทั งต้น ไม่ว่าส่วนใดของกล้วยน้าว้าสามารถน้าไปท้าประโยชน์ได้ทั งหมด 5. การขนส่ง มีการเลือกพาหนะในการขนส่งตามความสะดวก 6. การจัดจ้าหน่าย เมื่อมีผลผลิตบางรายมีลูกค้ามาซื อถึงในสวน บางรายน้าไปขายในตลาดชุมชน หรือมีการแปรรูปบ้างตามความถนัด 7. การส่งคืน เมื่อสินค้าจ้าหน่ายไม่หมดหรือเสียหายระหว่างการขนส่งจะถูกน้ากลับมาเป็นอาหาสัตว์หรือมาเป็นปุ๋ย ถ้ายังไม่เสียมากอาจน้ามารับทานเองได้ด้วย และการจัดการโซ่อุปทานกล้วยน้าว้าที่ดีต้องมีการเชื่อมต่อกันทั งโซ่อุปทานโดยแบ่งเป็นการไหลของสินค้า และการไหลของข้อมูลย้อนมา เพื่อให้เกษตรกรวางแผนการเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2561; |
|
dc.subject |
การจัดการโซ่อุปทาน, กล้วยน้าว้า |
th_TH |
dc.title |
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานกล้วยน้าว้าในจังหวัดนครปฐม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |