กระบวนการโลจิสติกส์ของการผลิตมะพร้าวน้าหอมในจังหวัดราชบุรี

DSpace/Manakin Repository

กระบวนการโลจิสติกส์ของการผลิตมะพร้าวน้าหอมในจังหวัดราชบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สุทธใจดี, วรรณี
dc.date.accessioned 2019-01-09T02:17:43Z
dc.date.available 2019-01-09T02:17:43Z
dc.date.issued 2019-01-09
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/1259
dc.description งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการโลจิสติกส์ของการผลิตมะพร้าวน้าหอมเพื่อการส่งออก เป็นการวิจัยประยุกต์ เพื่อค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ ในการผลิตมะพร้าวน้าหอม น้าข้อมูลที่ได้มาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพให้สามารถส่งออกได้อย่างยั่งยืน ประชากรเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผักและผลไม้ปลอดภัยสารพิษเพื่อส่งออก อ้าเภอด้าเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก คุณประยูร วิสุทธิไพศาล ประธานกลุ่มด้านข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรกลุ่มผู้ปลูกมะพร้าวน้าหอมและข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการโลจิสติกส์ของการผลิตมะพร้าวน้าหอม ผลการวิจัยพบว่า ปี พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติวิสาหกิจชุมชนเกิดขึ น คุณประยูร ได้รวบรวมเกษตรกรท้าสวนไม้ผลจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ใช้ชื่อว่า "วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผักและผลไม้ปลอดภัยสารพิษอ้าเภอด้าเนินสะดวก" และรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกส่งจ้าหน่ายไปยังตลาดต่างประเทศ กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวน้าหอม ในปี 2560 มีพื นที่เพาะปลูก 10 ต้าบล 1,361 ไร่ จ้านวนเกษตรกร 82 ราย ได้รับมาตรฐาน GAP แล้วจ้านวน 60 ราย ระยะเวลาในการปลูกโดยเฉลี่ย 10 ปี สวนที่เก็บข้อมูลเป็นสวนของคุณประยูร วิสุทธิไพศาล พื นที่ 260 ไร่ กระบวนการโลจิสติกส์ของการผลิตมะพร้าวน้าหอม ต้นน้า ด้านวัตถุดิบให้ความส้าคัญกับการเลือกพันธุ์ที่ดี สามารถปลูกได้ในสภาพดินทุกชนิด การให้ปุ๋ยจะให้ทางรากเน้นปุ๋ยอินทรีย์โดยเฉพาะปุ๋ยขี ค้างคาว การให้ปุ๋ยเคมีจะให้ในปริมาณที่จ้ากัดตามข้อก้าหนดของการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) การควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (IPM) กลางน้า กระบวนการการผลิตให้ได้คุณภาพเพื่อส่งออกต้องใส่ใจตั งแต่การปลูก การดูแลบ้ารุงรักษา การปลูกแบบยกร่องจะท้าให้ดูแลได้ดีกว่าแบบสวนเพราะจะสะดวกในการรดน้า การป้องกันและก้าจัดศัตรูพืชใช้วิธีกลแบบธรรมชาติ ปลายน้า ผลผลิตที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 1 ทะลาย มีผลเฉลี่ย 10-20 ผล ตัดได้ทุก 20 วัน การเตรียมส้าหรับการส่งออกจะใช้การควั่น (เจียน) ห่อด้วยพลาสติกบางใสและบรรจุลงในกล่องกระดาษ ความต้องการของตลาดจะอยู่ประเทศในกลุ่มอาเซียน เช่น ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย จีน และก้าลังขยายไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย การวางแผนพยากรณ์ความต้องการ และก้าหนดปริมาณผลผลิตของมะพร้าวน้าหอมในแต่ละปีให้มีปริมาณผลผลิตเพียงพอ และสามารถกระจายถึงผู้บริโภคโดยอย่างทั่วถึง ด้วยการน้าระบบ โลจิสติกส์มาสนับสนุนเพื่อสร้างมาตรฐานสินค้าเกษตรให้ดีมากยิ่งขึ น th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2561;-
dc.subject - th_TH
dc.subject - th_TH
dc.title กระบวนการโลจิสติกส์ของการผลิตมะพร้าวน้าหอมในจังหวัดราชบุรี th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
PDF.rar 4.780Mb Unknown View/Open ปก บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่1-5 บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account