dc.contributor.author |
สว่างจิตร, อาจารย์ ดร.โสพิศ |
|
dc.date.accessioned |
2019-01-23T06:53:05Z |
|
dc.date.available |
2019-01-23T06:53:05Z |
|
dc.date.issued |
2019-01-23 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1360 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ในการศึกษานี้ได้สำรวจและเก็บตัวอย่างดินจำนวนสิบห้าตัวอย่างจากแปลงพืชที่มีประวัติการใช้สารกำจัดวัชพืชไกลโฟเสทอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานจากจังหวัดนครปฐม ราชบุรี และกาญจนบุรี ในการคัดแยกแบคทีเรียย่อยสลายไกลโฟเสททำโดยนำดินซึ่งให้ชื่อว่า NP01, NP02, NP03, NP04, RB01, RB02, RB03, RB04, RB05, RB06, KB01, KB02, KB03, KB04 และ KB05 มาเลี้ยงเชื้อเพื่อคัดแยกบนอาหาร MS medium ที่มีการเติมสารไกลโฟเสท พบว่าสามารถคัดเลือกแบคทีเรียได้ 39 ไอโซเลท ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบทั้งหมด มีทั้งรูปร่างเป็นท่อนและทรงกลม ลักษณะโคโลนีเมื่อเจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อมีความแตกต่างกันโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือโคโลนีกลมสีขาวขุ่น ขอบเรียบ ผิวหน้ามันวาว เยิ้ม และอีกกลุ่มที่มีลักษณะโคโลนีไม่กลมสีเหลืองอ่อน ขอบขรุขระ ผิวหน้ามันวาว เยิ้ม เมื่อนำไปทำ PCR โดยใช้ไพรเมอร์คู่ 27F และ 1492R พบว่าสามารถสังเคราะห์ชิ้นส่วน 16S rDNA ได้ทั้งหมด โดยมีขนาดประมาณ 1,465 คู่เบส |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2561; |
|
dc.title |
การพัฒนาการย่อยสลายทางชีวภาพและเพิ่มอัตราการมีชีวิตรอดของแบคทีเรียย่อยสลายสารกำจัดวัชพืชไกลโฟเสทโดยการตรึงเซลล์ในเม็ดบีดโซเดียมอัลจิเนต |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |