dc.contributor.author |
บัวเล็ก, นายกิตติพัฒน์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-02-05T09:34:48Z |
|
dc.date.available |
2019-02-05T09:34:48Z |
|
dc.date.issued |
2019-02-05 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1601 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัยปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ในปัจจุบัน การเติบโตของเทคโนโลยีในโลกยุคปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาและเจริญก้าวหน้าอย่างมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ที่ทาให้รูปแบบการติดต่อสื่อสารทาได้ง่ายมากขึ้น เพียงแค่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตหรือสัญญาณโทรศัพท์ก็สามารถเชื่อมโยงคนทั้งโลกเข้าด้วยกัน จนทาให้เกิดการสร้างสังคมใหม่ที่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทุกที่ทุกเวลา หรือที่รู้จักกันในชื่อ โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online Social Network) ที่ผู้คนสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล แบ่งปันข่าวสาร ความสนใจ การแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องราวต่างๆ ร่วมกัน โดยหนึ่งในเครื่องมือที่ใช้ติดต่อสื่อสารในโลกโซเชียลเน็คเวิร์ค คือ แอปพลิเคชั่น Line ที่มีคุณสมบัติสามารถพูดคุยได้ทุกที่ ที่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือ ทาให้ทุกคนสามารถเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตได้ง่าย ประกอบกับจานวนผู้ใช้งานที่มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทุกคนมีอิสระที่จะเข้าไปแบ่งปันความรู้ และเลือกเครื่องมือที่ดีที่สุด เพื่อนาไปเผยแพร่ความรู้ที่ตัวเองต้องการสื่อสาร และเสนอความคิดใหม่ๆ ได้โดยไม่ถูกปิดกั้น นับเป็นยุคที่ทุกคนต้องตระหนักกับการเปลี่ยนถ่ายของข้อมูล (Content) จากข้อมูลที่คงที่ (Static Content) เข้าสู่ยุคของข้อมูลที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Dynamic Content) แนวคิดการนา Social Network มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนนับเป็นกลยุทธ์ที่สาคัญที่ควรให้การส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพราะปัจจุบัน Social Network ได้ กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อลิขสิทธิ์แต่อย่างใด
ดังนั้น การนาเทคโนโลยี Social Network มาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารเพื่อใช้ในการสนับสนุนการเรียนการสอนเป็นการผลักดันให้ก้าวทันโลกยุคปัจจุบัน และสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ “ชุมชนแห่งการเรียนรู้” บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบกับสานักวิชาการศึกษาทั่วไป
~ 4 ~
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กาลังหาช่องทางการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาเพื่อให้คาปรึกษาแนะนาการเรียนสอน ซึ่งเป็นช่องทางที่สามารถเข้าถึงนักศึกษาได้ง่าย สะดวก และ รวดเร็ว จากคุณสมบัติเบื้องต้นดังกล่าว รายวิชา GES1101 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ จึงได้นาแอปพลิเคชั่น Line มาเป็นหนึ่งช่องทางในการติดต่อสื่อสารและให้คาปรึกษาในเรื่องของการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 เพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงรายวิชาดังกล่าวได้ง่ายขึ้น และเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารให้มีความทันสมัยและหลากหลายอีกทางหนึ่ง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2561; |
|
dc.title |
กระบวนการให้คาปรึกษานักศึกษาผ่านโซเชี่ยลเนตเวิร์ค โดยใช้ไลน์แอด |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |