dc.contributor.author |
โสระเวช, อาจารย์ภาวิณี |
|
dc.date.accessioned |
2019-02-26T04:27:12Z |
|
dc.date.available |
2019-02-26T04:27:12Z |
|
dc.date.issued |
2019-02-26 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1722 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยการแสดงกระบวนการจัดการเรียนระบบการจัดการคุณภาพวิชาศิลปะ มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพด๎านจิตรกรรมตามแนวคิดทฤษฎี ไตร-องศะ สูํบ๎านวัดวัง ครั้งที่ 2และ 2. ผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียนโดยการใช๎แบบฝึกตามแนวคิดทฤษฎีไตรองศะ การโดยออกแบบการพัฒนาการเรียนรู๎ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบTQMโดยการใช๎วงจรเดมมิ่ง ( PDCA or Deming Cycle) อันประกอบไปด๎วย 1. P คือ ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนหลักสูตรรายวิชาศิลปะในวัง 2.D คือ ออกแบบขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพของหลักสูตรวิชาศิลปะ 3. C คือ ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลของแผนจัดการเรียนรู๎ รายงานผลการประเมิน 4. A คือ สร๎างมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน แสดงกระบวนการตามขั้นตอนได๎ ดังนี้ 1. การออกแบบผังกระบวนการบริหารการเรียนการสอนศิลปะ แนวคิดทฤษฎี การบริหารคุณภาพการปฎิบัติการตามระบบ TQM โดยการใช๎วงจรเดมมิ่ง ( PDCA or Deming Cycle) 2.การวางแผนการพัฒนาคุณภาพ 3. ขอบขำยการพัฒนาคุณภาพวิชาศิลปะ 4. กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพวิชาศิลปะ 5. การพัฒนานวัตกรรมคุณภาพวิชาศิลปะ 6. คูํมือคุณภาพวิชาศิลปะ ผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียนโดยการใช๎แบบฝึกตามแนวคิดทฤษฎีไตรองศะ ตลอดจนความคิดเห็นและข๎อเสนอแนะตำงๆ จากการแสดงผลสัมฤทธิ์ในการเรียนจากองค์ประกอบที่สาคัญในการเรียนเรื่องการวาดภาพระบายสีน้า เครื่องมือที่ใช๎ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด๎วยคาถาม ประเภทกาหนดคาตอบให๎ และประเภทประมาณคำ (Likert Scale) เนื้อหาของแบบสอบถามแบํงออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของผู๎ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนเรื่องการวาดภาพระบายสีน้า ในองค์ประกอบที่สาคัญในการวาดภาพระบายสีน้า ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข๎อเสนอแนะด๎านตำงๆ การดาเนินการวิจัย ผู๎วิจัยได๎รวบรวมข๎อมูลจากหนังสือ วารสาร เอกสารสิ่งพิมพ์ตำงๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎีศิลปะ การวาดภาพระบายสีน้า และข๎อมูลที่ได๎จากการเรียนการสอนการวาดภาพระบายสีน้า ตามแนวติดทฤษฎีไตร-องศะ ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จานวน 30 คน และได๎ประเมินผลสัมฤทธ์ทางการเรียนกับนักเรียน 30 คน คิดเป็นร๎อยละ 100 การวิเคราะห์ข๎อมูล ใช๎โปรแกรมสถิติสาเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ SPSS/PC+ (Statistical Package for the Social Sciences/Personal Computer Plus) เพื่อทาการวิเคราะห์ข๎อมูลหาคำร๎อยละ คำเฉลี่ย และคำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1.คุณลักษณะทั่วไปของผู๎ตอบแบบสอบถาม พบวำ ผู๎ตอบแบบสอบถามสํวนมาก เป็นเพศหญิง จานวน 19 คน คิดเป็นร๎อยละ 63.30 และเพศชาย จานวน 11 คน คิดเป็นร๎อยละ 36.70 ผู๎ตอบแบบสอบถามสํวนมาก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 12 คน คิดเป็นร๎อยละ 40.00รองลงมาชั้นประถมศึกษาปีที่ 5จานวน 11 คน คิดเป็นร๎อยละ 36.60
4
และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 7 คน คิดเป็นร๎อยละ 23.40 ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนแบบฝึกที่ 1 การรับรู๎ด๎านจิตรกรรม เรื่อง การระบายสีน้า ครั้งที่ 1 กํอนเรียนของนักเรียนจาแนกทัศนธาตุเส๎น สี รูปรำง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วำงในธรรมชาติสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ เรื่อง การวาดภาพระบายสีน้า มีผลสัมฤทธิ์อยูํในระดับปานกลาง คือ 3.35 นักเรียนสร๎างงานทัศนศิลป์รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติเรื่อง การวาดภาพระบายสีน้า มีผลสัมฤทธิ์อยูํในระดับปานกลาง คือ 3.11 และมีคำ SD รวมคือ .46 ซึ่งอยูํในระดับปานกลาง ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนแบบฝึกที่ 3 การปฏิบัติกิจกรรมการออกแบบการวาดภาพระบายสีน้า ครั้งที่ 2 หลังเรียน ของนักเรียนบรรยายลักษณะของภาพโดยเน๎นเรื่องการจัดระยะ ความลึก น้าหนักและแสงเงาในภาพเรื่องการวาดภาพระบายสีน้า มีผลสัมฤทธิ์อยูํในระดับมาก คือ 3.65 นักเรียนบรรยายลักษณะของภาพโดยเน๎นเรื่องการจัดระยะ ความลึก น้าหนักและแสงเงาในภาพเรื่องการวาดภาพระบายสีน้า มีผลสัมฤทธิ์อยูํในระดับมาก คือ 3.50 และมีคำ SD รวมคือ .53 ซึ่งอยูํในระดับมาก ดังจะเห็นได๎วำการนากระบวนการจัดการเรียนรู๎โดยการใช๎โดยการแสดงกระบวนการจัดการเรียนด๎วยการนาระบบการจัดการคุณภาพวิชาศิลปะ ด๎วยการใช๎แบบฝึก 3 แบบฝึก ทดสอบกํอนเรียนและหลังเรียนทาให๎ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู๎สูงขึ้น |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2561; |
|
dc.subject |
คุณภาพการจัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู๎ |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาศักยภาพด๎านจิตรกรรมตามแนวคิดทฤษฎี ไตร-องศะสูํบ๎านวัดวัง ครั้งที่ 2 |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |