dc.contributor.author |
เจตานนท์, ศศิธร |
|
dc.contributor.author |
แย้มจ่าเมือง, เบญจพร |
|
dc.contributor.author |
พูนเพิ่ม, ขวัญข้าว |
|
dc.date.accessioned |
2019-12-06T07:34:02Z |
|
dc.date.available |
2019-12-06T07:34:02Z |
|
dc.date.issued |
2019-12-06 |
|
dc.identifier.issn |
- |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1768 |
|
dc.description |
- |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยและเงื่อนไขที่ส่งผลสำเร็จในการทำเกษตรพอเพียง เพื่อวิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในเขตเมืองและชนบท โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อตรวจสอบข้อมูล และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า
จุดเริ่มต้น : แนวคิดหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข หรือแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
โดยในทุกพื้นที่ที่ได้ทำการสัมภาษณ์ ได้มีการนำแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข มาปรับใช้ในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการและการดำเนินการ ซึ่งมีข้อค้นพบเกี่ยวกับปัจจัยหลักที่จะส่งให้การพัฒนาการเกษตรแบบเดิม ให้เป็นแนวทางการเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน มีทั้งหมด 8 ปัจจัย ดังต่อไปนี้
ปัจจัยที่ 1 อาชีพดั้งเดิมที่เลี้ยงตัวเองได้ ปัจจัยที่ 2 มีการเรียนรู้และพัฒนาองค์ความรู้อยู่เสมอ ปัจจัยที่ 3 รู้จักการให้และการแบ่งปัน ปัจจัยที่ 4 ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unity) ปัจจัยที่ 5 สร้างจิตสำนึกที่ดีกับชุมชนดั้งเดิม สอนให้ชุมชนอยู่ได้ เพื่อพึ่งพารัฐให้น้อยที่สุด ปัจจัยที่ 6 ระบบการบริหารจัดการ ปัจจัยที่ 7 การตลาดและการสื่อสารการตลาด และปัจจัยที่ 8 การสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ หรือภาคเอกชน ส่วนแนวทางส่งเสริมการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในเขตเมืองและชนบท ผู้วิจัยได้สรุปเป็น 3 แนวทาง ได้แก่ 1.สำหรับชุมชนหรือพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2.สำหรับภาครัฐและเอกชน และ3.สำหรับนักท่องเที่ยว |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
- |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
-;- |
|
dc.subject |
ทฤษฎีใหม่ |
th_TH |
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร |
th_TH |
dc.subject |
ชนบทและเมือง |
th_TH |
dc.title |
แนวทางส่งเสริมการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่ในบริบทเมืองและชนบท |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |