dc.contributor.author |
ประดิษฐ์พฤกษ์, อรอนงค์ |
|
dc.contributor.author |
มีบัว, สุรศักดิ์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-12-12T09:43:01Z |
|
dc.date.available |
2019-12-12T09:43:01Z |
|
dc.date.issued |
2019-12-12 |
|
dc.identifier.issn |
- |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1803 |
|
dc.description |
- |
th_TH |
dc.description.abstract |
ปัจจุบันประเทศไทยต้องประสบกับปัญหาจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ก่อให้เกิดปัญหาการว่างงานและกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุ และ 2) เพื่อสังเคราะห์มาตรการในการส่งเสริมการจ้างแรงงานผู้สูงอายุให้เพิ่มสูงขึ้น โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการศึกษาพบว่า แม้จะมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยมีเจตนารมณ์ในการดูแลและช่วยเหลือผู้สูงอายุในด้านต่างๆ แต่มิได้มีการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุเท่าที่ควรจะเป็น ในขณะที่หลายประเทศได้เล็งเห็นความสำคัญและผลกระทบในส่วนนี้จึงได้กำหนดหน้าที่แก่รัฐ เพื่อให้มีการกำหนดสัดส่วนการจ้างแรงงานผู้สูงอายุเอาไว้โดยชัดเจน จึงควรมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายและมาตรการต่าง ๆ ในการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
- |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
-;NACHSL-2019_O_45 |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
สังคมผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
, พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 |
th_TH |
dc.subject |
การจ้างแรงงานผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.title |
มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |