dc.contributor.author |
กุลทะวงษ์, มนัญชยา |
|
dc.contributor.author |
คำตาแสง, ผกามาศ |
|
dc.contributor.author |
กุลชาติธีรธรรม, กันต์กนิษฐ์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-12-12T14:37:27Z |
|
dc.date.available |
2019-12-12T14:37:27Z |
|
dc.date.issued |
2019-12-12 |
|
dc.identifier.issn |
- |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1864 |
|
dc.description |
- |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง เฟซบุ๊ก (Facebook) ของแหล่งศึกษาและท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โฮจิมินห์ จังหวัดอุดรธานี กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนของ (Cocharn, 1997 อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5% ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 384 คน และสำรองไว้ 16 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน โดยเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย ด้านภาพรวมทั่วไป ด้านความชัดเจนของข้อความที่แสดง และด้านเนื้อหา วิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง เฟซบุ๊ก (Facebook) ของแหล่งศึกษาและท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โฮจิมินห์ จังหวัดอุดรธานีอยู่ในระดับความเหมาะสมมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านแล้วสรุปว่า ด้านเนื้อหาของข้อความมีระดับความเหมาะสมมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านภาพรวมทั่วไป และน้อยที่สุด คือ ด้านความชัดเจนของข้อความ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
- |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
-;NACHSL-2019_O_110 |
|
dc.subject |
รูปแบบการประชาสัมพันธ์ |
th_TH |
dc.subject |
แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โฮจิมินห์ |
th_TH |
dc.subject |
สื่อออนไลน์ (Facebook) |
th_TH |
dc.title |
รูปแบบการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง เฟซบุ๊ก (Facebook) แหล่งศึกษาและท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โฮจิมินห์ จังหวัดอุดรธานี |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |