dc.contributor.author |
ธาระแดน, วรรณวิษา |
|
dc.contributor.author |
สุตะนา, ธัญญารัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ไวยสุศรี, คธาวุฒิ |
|
dc.date.accessioned |
2019-12-12T14:56:43Z |
|
dc.date.available |
2019-12-12T14:56:43Z |
|
dc.date.issued |
2019-12-12 |
|
dc.identifier.issn |
- |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1871 |
|
dc.description |
- |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาศักยภาพลุ่มน้ำแก่งละว้า-ห้วยจิก จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะอุทกวิทยาด้วยแบบจำลองความสูงของภูมิประเทศเชิงเลข เพื่อนำมาวิเคราะห์หาศักยภาพของลุ่มน้ำ โดยงานวิจัยนี้ได้นำข้อมูลแบบจำลองความสูงของภูมิประเทศเชิงเลข (Digital Elevation Model-DEM) เพื่อศึกษารูปร่างความหนาแน่นของเส้นทางน้ำแห่งนี้ ทำการจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่ลุ่มน้ำ ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองความสูงของภูมิประเทศเชิงเลขในปี 2557 พบว่าบริเวณลุ่มน้ำแก่งละว้า-ห้วยจิก มีลุ่มน้ำย่อยทั้งหมด 11 ลุ่ม โดยลุ่มน้ำ KL03 ที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และ KL04 ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ได้ค่าการจัดลำดับความสำคัญอยู่ที่ 4.57 และ 4.85 ตามลำดับ ซึ่งมีศักยภาพระดับปานกลาง เนื่องจากมีความหนาแน่นของเส้นทางน้ำอยู่ในระดับปานกลาง โดยรูปร่างของพื้นที่ลุ่มน้ำมีลักษณะเป็นแบบการขยายตัวเป็นวงกลมเนื่องจากค่า Re การขยายตัวของรูปร่างมีค่ามากกว่า 1 ซึ่งเมื่อตามเกณฑ์แล้วจึงมีรูปร่างเป็นวงกลม ส่วนพื้นที่ลุ่มน้ำ KL10 ซึ่งอยู่ในแนวเหนือใต้ ได้ค่าการจัดลำดับความสำคัญอยู่ที่ 6.64 มีศักยภาพต่ำที่สุด เนื่องจากความหนาแน่นของเส้นทางน้ำอยู่ในระดับต่ำที่สุด โดยการระบายน้ำอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ดี ซึ่งลักษณะของรูปร่างพื้นที่ลุ่มน้ำเป็นแนวยาว จากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
- |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
-;NACHSL-2019_O_117 |
|
dc.subject |
พื้นที่ลุ่มน้ำ |
th_TH |
dc.subject |
การจัดลำดับความสำคัญ |
th_TH |
dc.subject |
ลุ่มน้ำแก่งละว้า – ห้วยจิก ขอนแก่น |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาศักยภาพลุ่มน้ำแก่งละว้า-ห้วยจิก จังหวัดขอนแก่น |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |