dc.contributor.author |
เมรสนัด, นพัตธร |
|
dc.contributor.author |
ไชยรัตน์, นวธร |
|
dc.contributor.author |
กุลพานิช, ณยศ |
|
dc.date.accessioned |
2019-12-12T14:58:44Z |
|
dc.date.available |
2019-12-12T14:58:44Z |
|
dc.date.issued |
2019-12-12 |
|
dc.identifier.issn |
- |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1872 |
|
dc.description |
- |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าคลอโรฟิลล์ในข้าวหอมมะลิและค่าดัชนีช่วงคลื่นที่มองเห็นได้ จากการถ่ายภาพทางอากาศโดยอากาศยานไร้คนขับ เดิมการตรวจสอบสุขอนามัยของพืช จะใช้ดัชนี NDVI ที่ต้องการใช้คลื่นใกล้อินฟราเรด ทำให้การตรวจสอบสุขอนามัยของพืชมีต้นทุนที่สูงและถูกจำกัดใช้ในเพียงภาคอุตสาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ่เท่านั้น เกษตรกรทั่วไปไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการตรวจสอบดังกล่าวได้ ผู้วิจัยเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้คิดค้นกระบวนการตรวจสอบสุขอนามัยข้าวที่มีมูลค่าลดลง โดยมีพื้นที่ศึกษาเป็นแปลงตัวอย่างในตำบลบ้านสระ อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ทำการถ่ายภาพทางอากาศมาวิเคราะห์โดยใช้ดัชนีช่วงคลื่นที่มองเห็นได้ผ่านโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์และทำการสุ่มจุดเก็บตัวอย่างค่าคลอโรฟิลล์ ผลการศึกษาพบว่าค่าคลอโรฟิลล์ที่ได้จากการเก็บตัวอย่างภาคสนามและภาพถ่ายทางอากาศที่ผ่านการวิเคราะห์โดยดัชนีช่วงคลื่นที่มองเห็นได้ ทั้ง 3 ดัชนี และนำค่าคลอโรฟิลล์มาแปลงค่าผ่านสมการที่สร้างขึ้นใหม่เป็นด่าดัชนีคลอโรฟิลล์ เพื่อทดสอบค่าเฉลี่ย สรุปได้ว่าดัชนี VARI มีผลการทดสอบค่าเฉลี่ยเปรียบเทียบกับคลอโรฟิลล์ ได้ค่าความน่าจะเป็นที่ 0.08995 หมายถึงสามารถทดแทนกันได้ ดังนั้นจึงอนุมานได้ว่าการใช้ดัชนี VARI สามารถบ่งบอกถึงสุขอนามัยของข้าวและทดแทนการใช้เครื่องตรวจวัดคลอโรฟิลล์ที่มีมูลค่าสูงได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
- |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
-;NACHSL-2019_O_119 |
|
dc.subject |
คลอโรฟิลล์ |
th_TH |
dc.subject |
ดัชนี VARI |
th_TH |
dc.subject |
อากาศยานไร้คนขับ |
th_TH |
dc.subject |
ภาพถ่ายทางอากาศ |
th_TH |
dc.subject |
ข้าวหอมมะลิ |
th_TH |
dc.title |
การประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับเพื่อ ตรวจสอบสุขอนามัยของข้าวโดยใช้ช่วงคลื่นที่มองเห็นได้ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |