การพัฒนาวัสดุดูดซับโลหะหนักจากน้าเสียในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

DSpace/Manakin Repository

การพัฒนาวัสดุดูดซับโลหะหนักจากน้าเสียในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author ศาสนนันทน์ ได้, ชินวัฒน์
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.date.accessioned 2015-06-04T08:56:30Z
dc.date.available 2015-06-04T08:56:30Z
dc.date.issued 2015-06-04
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/18
dc.description งานวิจัยงบประมาณภายใน ปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ซิลิกา เพื่อใช้เป็นสารดูดซับที่มีประสิทธิภาพในการขจัดโลหะจากน้้าเสียในเขตดุสิต ผลการศึกษาอิทธิพลของสารตั้งต้นซิลิกาได้แสดงให้เห็นถึงการจัดเรียงรูพรุนขนาดกลางของซิลิกาอย่างมีระเบียบและการกระจายขนาดรูพรุนในช่วงที่แคบ เมื่อใช้ TEOS หรือซิลิกาที่ผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูงเป็นสารตั้งต้นซิลิกา การเปรียบเทียบความยากง่ายในการสังเคราะห์, ลักษณะทางกายภาพและความสามารถในการสกัด Cu(II) ของสารดูดซับชนิดต่างๆ พบว่าซิลิกาที่สังเคราะห์จาก CTAB/TEOS ในอัตราส่วน 0.18 เป็นสารดูดซับที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด การตรวจสอบปัจจัยที่มีผลต่อการสกัด Cu(II) ในรูปแบบคอลัมน์ SPE พบว่าปัจจัยที่ส้าคัญคือ อัตราเร็วในการไหลของสารละลายโลหะ โดยความสามารถสูงสุดในการสกัด Cu(II) ของสารดูดซับชนิดนี้มีค่าเท่ากับ 0.1647 โมล/กิโลกรัม เมื่อหาโดยใช้สมการของ Langmuir การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติในการสกัดโลหะชนิดอื่นๆ ของซิลิกาให้ผลสรุปว่า ความสามารถของซิลิกาในการสกัดโลหะเหล่านี้ดีที่สุด เมื่อในสารละลายโลหะมีเกลือ NaNO3 อยู่ด้วยและมี pH มากกว่า 3 การศึกษาการเลือกจ้าเพาะต่อการสกัดโลหะจากสารละลายโลหะผสมระหว่าง Fe(III), Mn(II) และ Zn(II) พบว่าซิลิกาชนิดนี้มีความสามารถที่ดีเยี่ยมและมีการเลือกจ้าเพาะสูงต่อการสกัด Fe(III) โดยมีค่าการสกัดสูงสุดเท่ากับ 0.1573 โมล/กิโลกรัม เมื่อคิดจากกราฟของ Langmuir ซิลิกาชนิดนี้สามารถน้ากลับมาใช้ใหม่ได้โดยปราศจากการสูญเสียประสิทธิภาพในการสกัด การศึกษาจลนพลศาสตร์ได้ชี้ให้เห็นถึงอัตราเร็วในกระบวนการสกัดโลหะของสารดูดซับชนิดนี้ การประยุกต์ซิลิกากับการขจัดโลหะชนิดต่างๆ จากตัวอย่างน้้าเสียที่มาจากแหล่งต่างๆ ในเขตดุสิตได้ผลเป็นที่น่าพอใจ th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language TH TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2553;
dc.source งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2553 TH
dc.subject พัฒนาวัสดุ th_TH
dc.subject วัสดุดูดซับโลหะหนัก th_TH
dc.subject น้าเสีย th_TH
dc.title การพัฒนาวัสดุดูดซับโลหะหนักจากน้าเสียในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_017_53.pdf 75.11Kb PDF View/Open ปก
ird_017_53 (1).pdf 296.5Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_017_53 (2).pdf 245.5Kb PDF View/Open Abstract
ird_017_53 (3).pdf 299.6Kb PDF View/Open กิติกรรมประกาศ
ird_017_53 (4).pdf 284.9Kb PDF View/Open บทที่ 1
ird_017_53 (5).pdf 297.7Kb PDF View/Open บทที่ 2
ird_017_53 (6).pdf 306.4Kb PDF View/Open บทที่ 3
ird_017_53 (7).pdf 747.1Kb PDF View/Open บทที่ 4
ird_017_53 (8).pdf 279.6Kb PDF View/Open บทที่ 5
ird_017_53 (9).pdf 294.2Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_017_53 (10).pdf 275.4Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account