dc.contributor.author |
โยวะผุย, พนิดา |
|
dc.contributor.author |
อินโท่โล่, สาคร |
|
dc.contributor.author |
ชำนาญบริรักษ์, ผดุงศิษฎ์ |
|
dc.contributor.author |
กะการดี, อักษ์ศรา |
|
dc.date.accessioned |
2019-12-13T12:17:04Z |
|
dc.date.available |
2019-12-13T12:17:04Z |
|
dc.date.issued |
2019-12-13 |
|
dc.identifier.issn |
- |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1929 |
|
dc.description |
- |
th_TH |
dc.description.abstract |
วิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายประสบการณ์การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุในพื้นที่บริบทชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบทจังหวัดมหาสารคาม ผู้ให้ข้อมูลคือผู้สูงอายุจำนวน 30 คน คัดเลือกโดยวิธีเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติ เก็บข้อมูลโดยวิธีเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และบันทึกภาคสนาม ในระหว่างเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน พ.ศ. 2562 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์วิธีของเลียวนาร์ด
ผลการศึกษาพบว่าประสบการณ์ การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุในในพื้นที่บริบทชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ประกอบด้วย องค์ประกอบ 2 ประเด็นหลัก คือ 1) การรับรู้สุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ และ 2) วิถีการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ โดยการรับรู้สุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย ได้แก่ สุขภาพตามวัย ป่วยง่ายเพราะแก่ สุขภาพแย่ด้วยโรคเรื้อรัง ต้องพึ่งพาผู้อื่น และวิถีการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 3 ประเด็นย่อย ได้แก่ เบิ่งเจ้าของ พี่น้องเบิ่งกัน ไทบ้านช่วยเหลือ
ผลการวิจัยครั้งนี้สะท้อนถึงมุมมองการรับรู้ภาวะสุขภาพตนเองและการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนที่มีความสอดคล้องกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อค้นพบเป็นประโยชน์สำหรับบุคลากรด้านสุขภาพและบุคลากรด้านสังคมในการจัดบริการด้านสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
- |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
-;NACHSL-2019_O_833 |
|
dc.subject |
การดูแลสุขภาพตนเอง |
th_TH |
dc.subject |
ประสบการณ์ |
th_TH |
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
บริบทชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท |
th_TH |
dc.title |
ประสบการณ์การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ในพื้นที่บริบทชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท จังหวัดมหาสารคาม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |