Abstract:
|
การวิจัยในครั้งนี้กำหนดวัตถุประสงค.เพื่อสำรวจภูมิสังคม ป6ญหาเดิมและป6ญหาใหม ในพื้นที่
ได(รับผลกระทบตลอดเส(นทางสายน้ำ 3 สาย ได(แก ลำห(วยหลวง ลำห(วยสงคราม ล้ำห(วยทวน และ 2
นา ได(แก นาข(าวและนาเกลือ วิเคราะห.การมีส วนร วมในการมีส วนร วมในการแก(ไขป6ญหาการรุกล้ำ
ของน้ำเค็มจากการผลิตนาเกลือสินเธาว. และการประยุกต.ใช(หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ดำรงชีวิตของประชาชน รวมถึงเพื่อสร(างภาพในอนาคต รูปแบบและแนวทางการพัฒนาสังคมแห ง
การดำรงชีวิตอย างมีความสุขของการอยู ร วมกันของประชาชนผู(ทำนาข(าวและนาเกลือ โดยทำการเก็บ
ข(อมูลด(วยแบบสอบถามจาก 400 กลุ มตัวอย าง และทำการสัมภาษณ.นักพัฒนาชุมชน เกษตรอำเภอ
บ(านดุง ผู(ประกอบการนาเกลือ ผู(นำชุมชน และประชาชน จำนวน 30 คน พบว า พื้นที่ของอำเภอ
บ(านดุงมีประวัติความเป=นมายาวนานกว า 4,000 ป?เทียบเคียงกับอารยธรรมบ(านเชียง ซึ่งแต เดิมเป=น
ปAาไม(ใหญ ที่อุดมสมบูรณ.ทั้งต(นดุงใหญ และยางใหญ รวมถึงสัตว.ปAาหลากหลายชนิด โดยบ(านดุงใหญ
เป=นพื้นที่ตั้งบ(านเรือนแต เริ่มต(น จนได(มีการยกฐานะจาก 3 ตำบล คือ ตำบลบ(านดุง ตำบลบ(านจันทน.
และตำบลดงเย็น เป=น "กิ่งอำเภอบ(านดุง" และเป=น "อำเภอบ(านดุง" เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.
2506 ทางราชการ ป6จจุบันในพื้นที่มีการทำนาเกลืออยู 4 ตำบล คือ ตำบลบ(านดุง ตำบลโพนสูง
ตำบลศรีสุทโธ และตำบลบ(านชัยที่ส งผลกระทบต อตำบลนาคำอย างมาก กำเนิดเป=นเมือง 3 น้ำ คือ
น้ำเค็ม น้ำกร อยและน้ำจืดบนที่ราบสูง ประชาชนส วนใหญ นับถือศาสนาพุทธอย างมั่นคง ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม เป=นชาวนา ชาวไร อยู ร วมกันมาไม น(อยกว า 21 ขึ้นไป มีรายได(และรายจ ายต อ
เดือนไม เกิน 5,000 บาท และมากกว าร(อยละ 80 เป=นเจ(าของที่ดินมีธุรกิจหรือการประกอบอาชีพใน
ชุมชน และเป=นสมาชิกกองทุนชุมชนและชุมชนเมืองมากที่สุด พร(อมกันนั้นผู(คนมีเพื่อนบ(านที่สนิท
สนมคุ(นเคยกันภายในชุมชนและพบปะพูดคุยกันตลอดเวลา ซึ่งกิจกรรมทางสังคมและศาสนาที่
ประชาชนเข(าร วมประจำ คือ วันสงกรานต. วันเข(าพรรษา วันมาฆบูชา วันออกพรรษา วันแม วันพ อ
วันวิสาขบูชา พัฒนาชุมชน และงานประเพณีของทางวัดประจำชุมชน ทำให(ผู(คนมีความผูกพันต อ |