dc.contributor.author |
เนียมมณี, ฒาลิศา |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T06:18:16Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T06:18:16Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/206 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาขยะ ความต้องการของชุมชนในการจัดการปัญหาขยะ วิเคราะห์การจัดการขยะของชุมชน และ รูปแบบ วิธีการในการแก้ปัญหาขยะโดยการผลิตอินทรีย์สารเพื่อการเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้นาชุมชน ผู้นากลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการขยะ และประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลบางนางลี่ จากนั้นสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างได้แก่หัวหน้าครัวเรือน หมู่ที่ 2 บ้านคลองเป้ง จานวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม นาไปเก็บรวบรวมข้อมูลร่วมกับการประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (RRA) การเดินสารวจสภาพพื้นที่ การสังเกต การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก และการสนทนากลุ่ม นาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ตามหลักการวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์สถิติสถิติพรรณา โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปสาหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์
ผลการศึกษาพบว่าสรุปได้ดังนี้
1) ปัญหาขยะและปัญหาการจัดการขยะของชุมชน
ขยะที่มีมากที่สุดคือเศษพืช ผัก เศษอาหาร และขยะประเภทพลาสติก ปัญหาการจัดการขยะโดยรวมของชุมชน อยู่ในระดับมาก (x = 3.50 : s = 0.54) โดย สภาพปัญหามากที่สุดคือ ประสบปัญหาเกี่ยวกับวิธีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ( x = 3.80 : s = 0.72: ระดับมาก) รองลงมาคือ ชุมชนไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ( x = 3.63 : s = 0.76 : ระดับมาก) และชุมชนประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดเตรียมถังขยะแยกประเภท ( x =3.53 : s= 0.72 : ระดับมาก) ตามลาดับ
2) ความต้องการในการจัดการปัญหาขยะของชุมชน
ความต้องการในการจัดการขยะโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.95 : s = 0.47)
โดย ความต้องการมากที่สุดคือ ควรมีการประชาสัมพันธ์และแจ้งให้ประชาชนทราบและเข้าใจเรื่องการบริการจัดเก็บขยะ ( x = 4.14 : s = 0.68: ระดับมาก) รองลงมาคือ ควรให้ทุกบ้านช่วยกันแยกขยะทุกครั้งก่อนนาไปทิ้งหรือกาจัด ( x = 4.06 : s = 0.76: ระดับมาก) และควรมีการให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องขยะและผลกระทบที่เกิดจากขยะ ( x = 4.06 : s= 0.70 : ระดับมาก) ตามลาดับ
www.ssru.ac.th
)
3) การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันด้านการจัดการขยะของชุมชน
ภาชนะสาหรับเก็บรวบรวมขยะที่ครัวเรือนใช้มากที่สุดคือถุงพลาสติก (ร้อยละ 50.0) โดยคัดแยกขยะเพื่อนาไปขายมากที่สุด (ร้อยละ 53.7) และครัวเรือนกาจัดขยะเองทั้งหมด ขยะประเภทย่อยสลายใช้วิธีกาจัดโดยการทาเป็นปุ๋ย ขยะประเภทรีไซเคิลใช้วิธีกาจัดโดยการนาไปขาย ขยะประเภทมีพิษใช้วิธีกาจัดโดยการนาไปทิ้ง และขยะประเภททั่วไปใช้วิธีกาจัดโดยการนาไปเผา 4) รูปแบบ วิธีการในการแก้ปัญหาขยะโดยการผลิตอินทรีย์สารเพื่อการเกษตรโดย การมีส่วนร่วมของประชาชน ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการมากที่สุดคือโครงการอบรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน และโครงการผลิตอินทรีย์สารเพื่อการเกษตร |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2554 |
TH |
dc.subject |
สภาพปัญหาขยะ |
th_TH |
dc.subject |
การจัดการขยะ |
th_TH |
dc.subject |
อินทรีย์สาร |
th_TH |
dc.title |
กระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาขยะโดยการผลิตอินทรีย์สารเพื่อ การเกษตรของชุมชนบางนางลี่ จังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |