dc.contributor.author |
ยิ่งไพบูลย์สุข, อุดมพร |
|
dc.contributor.author |
คฤหเดช, เปรมวดี |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T08:56:40Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T08:56:40Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/286 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่องเพศวิถีของนักศึกษาในเขตรัตนโกสินทร์:กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจเพศวิถีของนักศึกษาในเขตรัตนโกสินทร์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมไทยและเปรียบเทียบค่านิยมทางเพศของนักศึกษาเพศชายกับเพศหญิง นักศึกษาที่พักอาศัยกับบิดามารดาผู้ปกครองหรือญาติกับนักศึกษาที่อยู่หอพักหรือเช่าบ้านอยู่ตามลาพัง และนักศึกษาที่มีภูมิ ลาเนาอยู่กรุงเทพมหานครกับต่างจังหวัด กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จานวน 400 คน เป็นนักศึกษาหญิงจานวน 263 คน นักศึกษาชายจานวน 137 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามค่านิยมทางเพศและพฤติกรรมทางเพศของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต นาแบบสอบถามที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าทดสอบด้วยที ผลการวิจัยพบว่า
1) อายุของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 18–20 ปี คิดเป็นร้อยละ 57.10 มีภูมิลาเนาอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40.50 พักอาศัยอยู่หอพักรวมชายหญิง จานวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 73.00 ส่วนใหญ่ได้รับความรู้ทางเพศจากอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 53.00 และส่วนมากมีค่าใช้จ่ายส่วนตัวต่อเดือน 5000 - 7500 บาท คิดเป็นร้อยละ 69.00 2) ค่านิยมทางเพศโดยรวมพบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.75 มีค่านิยมทางเพศในเชิงลบ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยของระดับค่านิยมทางเพศ เท่ากับ 3.46 และมีค่านิยมทางเพศเชิงบวก ร้อยละ 27.25 เมื่อแยกตามเพศ พบว่า นักศึกษาเพศหญิงและนักศึกษาชายมีค่านิยมทางเพศในเชิงลบ คิดเป็นร้อยละ 74.62 และร้อยละ 69.12 ตามลาดับ พฤติกรรมทางเพศ พบว่า พฤติกรรมทางเพศที่นักศึกษาปฏิบัติเป็นบางครั้ง ได้แก่
(1) www.ssru.ac.th
การพูดคุยเรื่องเพศได้อย่างเปิดเผยกับคนทั่วไป การถ่ายรูป การถ่ายวีดีโอหรือคลิปเซ็กซี่/โป๊ มีจานวนมากที่สุด ร้อยละ 73.00 มีการสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ร้อยละ 72.25 และมีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ เหล้าปั่น ร้อยละ45.75 ดังนั้น นักศึกษาจึงมีเพศวิถีไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมไทย 3)เปรียบเทียบค่านิยมทางเพศของนักศึกษาเพศชายกับเพศหญิง นักศึกษาที่พักอาศัยกับบิดามารดา ผู้ปกครองหรือญาติกับนักศึกษาที่อยู่หอพักหรือเช่าบ้านอยู่ตามลาพัง และนักศึกษาที่มีภูมิลาเนาอยู่กรุงเทพมหา นครกับต่าง จังหวัด พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
TH |
TH |
dc.subject |
เพศวิถี |
th_TH |
dc.subject |
พฤติกรรมทางเพศ |
th_TH |
dc.subject |
ค่านิยมทางเพศ |
th_TH |
dc.subject |
นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตเขตรัตนโกสินทร์ |
th_TH |
dc.title |
เพศวิถีของนักศึกษาในเขตรัตนโกสินทร์:กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |