dc.contributor.author |
อัคนิจ, นันทพร |
|
dc.contributor.author |
แข็งขัน, รุจิรา |
|
dc.contributor.author |
หนูเจริญ, สุดธิดา |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T09:12:34Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T09:12:34Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/292 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณใยอาหารจากซังขนุนที่เหมาะสมในผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูอิมัลชัน โดยมีการใช้ซังขนุนทดแทนไขมัน 4 ระดับ ได้แก่ ร้อยละ 0 5 10 และ 15 พบว่า สูตรที่เหมาะสมที่สุดในการผลิตลูกชิ้นหมูอิมัลชัน คือ การใช้ซังขนุนทดแทนไขมันร้อยละ 5 เมื่อนาไปทดสอบการยอมรับทางด้านประสาทสัมผัสโดยผู้บริโภค จานวน 30 คน โดยให้คะแนนความชอบด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และการยอบรับโดยรวม ซึ่งผู้บริโภคให้การยอมรับโดยรวมไม่แตกต่างกันจากสูตรควบคุมที่ไม่มีการเติมซังขนุนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05) การศึกษาคุณภาพทางด้านกายภาพ เคมี พบว่า ลูกชิ้นหมูอิมัลชันที่มีการเสริมซังขนุนร้อยละ 5 จะมีค่าความสว่าง (L*) ค่าความเป็นสีแดง (a*) และสีเหลือง (b*) คือ 68.20 1.14 และ 10.02 ตามลาดับ มีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) คือ 6.02 ความสามารถในการอุ้มน้า คือ ร้อยละ98.94 และค่ามี Hardness (ค่าความแข็ง) Springiness (ค่าความสามารถในการคืนตัว) Chewiness (พลังงานที่ใช้ในการเคี้ยวอาหาร) ไม่แตกต่างกับทุกสูตรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05) และมีค่า Cohesiveness (ความสามารถในการรวมตัวกัน) 0.47 ไม่แตกต่างกับสูตรควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05) การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของลูกชิ้นหมูอิลมัลชันที่มีการเสริมซังขนุนร้อยละ 5 พบว่า มีปริมาณความชื้น ไขมัน และเส้นใย คือ 70.99 6.00 และ 0.56 g/100g ตามลาดับ ซึ่งมีปริมาณไขมันที่น้อยกว่า และ ใยอาหารที่มากกว่า เมื่อเทียบกับสูตรควบคุม การศึกษาอายุการเก็บรักษาเป็นเวลา 15 วันโดยสุ่มตรวจทุก ๆ 3 วัน พบว่าวันที่ 9 มีพบเชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดและปริมาณ E. coli <3.0 MPN/g ซึ่งน้อยกว่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนลูกชิ้นหมูที่กาหนดไว้คือ 1× 104 CFU/g ดังนั้นจึงสามารถเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูอิมัลชันที่มีการเสริมซังขนุนได้เป็นเวลาไม่เกิน 9 วัน จึงสามารถบริโภคได้โดยไม่เป็นอันตราย
คาสาคัญ : ซังขนุน, ใยอาหาร, การเสริมใยอาหาร, ลูกชิ้นหมูอิมัลชัน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556 |
TH |
dc.subject |
การเสริมใยอาหาร |
th_TH |
dc.subject |
ซังขนุนในผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูอิมัลชัน |
th_TH |
dc.title |
การเสริมใยอาหารจากซังขนุนในผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูอิมัลชัน |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |