รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ4 ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแล ตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

DSpace/Manakin Repository

รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ4 ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแล ตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

Show simple item record

dc.contributor.author วรรณกูล, ธนพร
dc.contributor.author ทิพย์วงศ์, อารยา
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.date.accessioned 2015-06-20T09:54:44Z
dc.date.available 2015-06-20T09:54:44Z
dc.date.issued 2015-06-20
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/308
dc.description งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การศึกษาเรื่องรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ4 ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้และพฤติกรรมในการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังได้รับการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว วัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน เลือกโดยวิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์คือ ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นความดันโลหิตสูง การเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 ประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1)ขั้นกาหนดปัญหา (ขั้นทุกข์) ให้ผู้ป่วยประเมินตนเอง วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ 2) ขั้นตั้งสมมติฐาน (ขั้นสมุทัย) ให้ความรู้และคาแนะนาการดูแลตนเองตามปัญหา 3) ขั้นการทดลองและเก็บข้อมูล (ขั้นนิโรธ) ให้ผู้ป่วยทดลองปฏิบัติตามคาแนะนาเพื่อแก้ไขปัญหา และ 4) ขั้นสรุปแนวทางการปฏิบัติ (ขั้นมรรค) ให้คงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับปัญหาของผู้ป่วยแต่ละราย โดยเยี่ยมบ้านผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 3 ครั้ง แต่ละครั้งระยะเวลาห่างกัน 1 สัปดาห์ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมในการดูแลตนเอง และเครื่องวัดความดันโลหิต เก็บข้อมูลก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถิติอ้างอิงโดยใช้ dependent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษานี้แสดงว่ารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2556;
dc.source งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556
dc.subject การเรียนรู้ th_TH
dc.subject การดูแลตนเอง th_TH
dc.subject ความดันโลหิตสูง th_TH
dc.subject หลักอริยสัจ4 th_TH
dc.title รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ4 ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแล ตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_191_56.pdf 594.3Kb PDF View/Open ปก
ird_191_56 (1).pdf 560.7Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_191_56 (2).pdf 532.0Kb PDF View/Open Abstract
ird_191_56 (3).pdf 626.7Kb PDF View/Open กิตติกรรมประกาศ
ird_191_56 (4).pdf 595.0Kb PDF View/Open บทที่1
ird_191_56 (5).pdf 852.6Kb PDF View/Open บทที่2
ird_191_56 (6).pdf 660.0Kb PDF View/Open บทที่3
ird_191_56 (7).pdf 682.9Kb PDF View/Open บทที่4
ird_191_56 (8).pdf 613.8Kb PDF View/Open บทที่5
ird_191_56 (9).pdf 602.6Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_191_56 (10).pdf 841.3Kb PDF View/Open ภาคผนวก
ird_191_56 (11).pdf 559.1Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account