dc.contributor.author |
ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์, ชัยศรี |
|
dc.contributor.author |
ชูอินทร์, ศิวพันธุ์ |
|
dc.contributor.author |
เกษมสวัสดิ์, ศรีสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
อุฑารสกุล, ทัศนาวลัย |
|
dc.contributor.author |
มนต์ประภัสสร, สถาพร |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T10:05:31Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T10:05:31Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/314 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณภายนอก ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการทรัพยากรน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืน จังหวัดสมุทรสงครามมีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบคุณภาพน้้าในแหล่งน้้า ในจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อส้ารวจ ตรวจสอบคุณภาพน้้าดิบที่น้ามาผลิตเพื่อการอุปโภคบริโภคภายในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม จัดท้าระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แหล่งน้้าจังหวัดสมุทรสงคราม และเสนอแนะแนวทางการด้าเนินงานในการจัดการทรัพยากรน้้าเพื่อการอุโภคบริโภค ท้าการเก็บตัวอย่างน้้า ได้แก่น้้าผิวดินและน้้าบาดาล ในจังหวัดสมุทรสงครามทั้ง 3 อ้าเภอ คือ จุดเก็บตัวอย่างน้้าผิวดินหรือน้้าคลองในอ้าเภอเมือง จ้านวน 69 จุด อ้าเภออัมพวา จ้านวน 80 จุด และอ้าเภอบางคนที่ จ้านวน 68 จุด รวมทั้งหมด 217 จุด ต้าแหน่งในการเก็บตัวอย่างน้้าบาดาล ท้าการเก็บตัวอย่าง 2 ต้าแหน่ง (จุด) ของแต่ละบ่อบาดาล คือก่อนการบ้าบัดและหลังจากบ้าบัดแล้ว เก็บตัวอย่างในอ้าเภอเมือง จ้านวน 3 บ่อ อ้าเภออัมพวา จ้านวน 11 บ่อ และ อ้าเภอบางคนที จ้านวน 10 บ่อ รวม 24 บ่อ ด้าเนินการเก็บตัวอย่างฤดูกาลละครั้ง คือ ฤดูหนาวในเดือนธันวาคม 2554 ฤดูร้อน เดือนมีนาคม 2555 และฤดูฝน เดือนสิงหาคม 2555
ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้้าผิวดินพบว่าอุณหภูมิของน้้า กรด-ด่าง (pH) ค่าออกซิเจนละลายน้้า ค่าบีโอดี สารไนโตรเจนในรูปไนเตรต และแอมโมเนีย และปริมาณฟีคับโคลีฟอร์มแบคทีเรีย มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าผิวดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่วนปริมาณสารโลหะหนักได้แก่ สารตะกั่ว สารแคดเมียม สารสังกะสี และสารทองแดง มีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าผิวดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคุมมลพิษ ส่วนค่าของแข็งละลายน้้าทั้งหมด (TDS) และค่าความขุ่นของน้้ามีค่าสูง แต่ไม่มีมาตรฐานก้าหนด และความเค็มของน้้า และปริมาณไนโตรเจนในรูปไนไตรต์มีค่าต่้า แต่ไม่มีมาตรฐานก้าหนด
ผลการวิเคราะห์น้้าบาดาลพบว่าโดยส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แก่ค่า กรด-ด่าง ความขุ่น ค่าคลอรีน ไนโตรเจนในรูปไนเตรต ซัลเฟต ความกระด้างของน้้า สารทองแดง และสารสังกะสี ส่วนคุณภาพน้้าบาดาลที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้แก่ ปริมาณของแข็งที่ละลายน้้าทั้งหมด (TDS) สารแคดเมียมและสารตะกั่ว ส่วนความเค็มของน้้า ค่าความน้าไฟฟ้า และสารไนโตรเจนในรูปไนไตรต์ ไม่มีค่ามาตรฐานก้าหนด แต่มีปริมาณต่้า
แนวทางการจัดการคุณภาพน้้าผิวดินได้แก่การสร้างแนวทางการลดน้้าเสียจากแหล่งก้าเนิด จัดให้มีการรวมกลุ่มเพื่อจัดการน้้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้้า น้าระบบ CSR มารณรงค์ให้เกิดการปฏิบัติอย่าง
www.ssru.ac.th
จริงจัง จัดให้มีสถานีเฝ้าระวังคุณภาพน้้าแต่ละอ้าเภอ ซึ่งทางภาครัฐควรจัดท้าแผนจัดการคุณภาพน้้าแบบบูรณการร่วมกับภาคประชาชน เป็นต้น ส่วนแนวทางการจัดการคุณภาพน้้าบาดาลนั้นควรมีระบบการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพแหล่งน้้าก่อนและหลังผลิตเป็นน้้าประปาอย่างต่อเนื่อง ควรมีระบบการจัดการควบคุมและตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบบ้าบัดน้้าในกระบวนการผลิตน้้าของแต่ละแหล่ง ควรมีระบบกรองน้้าบาดาลที่เป็นมาตรฐานในพื้นที่ และควรจัดรูปแบบการผลิตน้้าประปาที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2555; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2556 |
TH |
dc.subject |
ทรัพยากรน้า |
th_TH |
dc.subject |
อย่างยั่งยืน |
th_TH |
dc.subject |
จังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.title |
แนวทางการจัดการทรัพยากรน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืน จังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |