ไม้โกงกางกับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบไม้เท้าสาหรับผู้สูงอายุ

DSpace/Manakin Repository

ไม้โกงกางกับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบไม้เท้าสาหรับผู้สูงอายุ

Show simple item record

dc.contributor.author สังวาลเพ็ชร, นภดล
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.date.accessioned 2015-06-20T10:23:38Z
dc.date.available 2015-06-20T10:23:38Z
dc.date.issued 2015-06-20
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/326
dc.description งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract โครงการวิจัยไม้โกงกางกับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบไม้เท้าสาหรับผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อนาคุณสมบัติด้านความแข็งแรง ความเหนียว และคุณสมบัติเฉพาะตัวของไม้โกงกาง มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบไม้เท้าสาหรับผู้สูงอายุ โดยศึกษาจากพฤติกรรมการดาเนินชีวิต และการเลือกใช้ไม้เท้าของผู้สูงอายุ กลุ่มประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ คือกลุ่มผู้สูงอายุเพศชายและหญิงจานวน 70 คน ที่มีอายุระหว่าง 60-80 ปี ในเขตตาบลแพรกหนามแดง อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1. กลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใช้ไม้เท้าเนื่องจากมีอาการข้อเข่าเสื่อม 2. กลุ่มผู้สูงอายุมีความต้องการในการใช้ไม้เท้ามาก เนื่องจากมีความเห็นว่าไม้เท้าสามารถช่วยให้การเดินสะดวกมากขึ้นและช่วยลดการหกล้มได้ แต่ไม้เท้าต้องมีด้ามจับที่ถนัดมือและส่วนของไม้เท้าที่สัมผัสพื้นต้องไม่ลื่น มีความสวยงามน่าใช้งาน 3. กลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความคิดเห็นตรงกันว่า ไม้โกงกางเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการนามาทาเป็นไม้เท้า เนื่องจากไม้โกงกางมีความเหนียวและแข็งแรง อีกทั้งยังเป็นไม้พื้นถิ่นหาได้ง่ายและราคาไม่แพง ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการวิจัยไปใช้ 1. การวิจัยครั้งนี้เป็นการนาคุณสมบัติด้านความแข็งแรง ความเหนียว และคุณสมบัติเฉพาะตัวของไม้โกงกาง เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบไม้เท้าสาหรับผู้สูงอายุ 2. เพื่อเป็นแนวทางในการนาไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่นของประดับตกแต่งบ้าน โรงแรม หรือรีสอร์ท ของที่ระลึก และอื่นๆ โดยคานึงถึงคุณสมบัติของไม้โกงกาง 3. ผลงานออกแบบขั้นสุดท้ายอาจเป็นการนาข้อดีของรูปแบบในแต่ละรูปแบบมาผสมผสานเพื่อความลงตัวยิ่งขึ้น 4. ในการออกแบบอาจมีการปรับเปลี่ยนเรื่องการเลือกใช้วัสดุอื่นๆมาใช้ร่วม รวมทั้งการทาสีควรใช้การย้อมสีไม้แทนเนื่องจากรูปแบบการใช้งานต้องมีการเสียดสีกันของผิวไม้ การย้อมสีจึงมีความเหมาะสมต่อความคงทนมากกว่า ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มผู้สูงวัยในเขตเมือง เพื่อเป็นการเปรียบเทียบพฤติกรรมต่างๆ ได้มากขึ้น รวมถึงองค์ประกอบด้านอื่นๆ เพื่อนามาเป็นแนวทางในการออกแบบให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตในปัจจุบัน 2. ควรมีการศึกษาคุณสมบัติด้านอื่นๆ ของวัสดุไม้โกงกาง เพื่อนามาเป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายมากขึ้น และเป็นที่ยอมรับของตลาดในประเทศและต่างประเทศ th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2556;
dc.source งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556
dc.subject ไม้โกงกาง th_TH
dc.subject การประยุกต์ th_TH
dc.subject ารออกแบบ th_TH
dc.subject ไม้เท้า th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ th_TH
dc.title ไม้โกงกางกับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบไม้เท้าสาหรับผู้สูงอายุ th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_285_56.pdf 614.9Kb PDF View/Open ปก
ird_285_56 (1).pdf 550.5Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_285_56 (2).pdf 493.8Kb PDF View/Open Abstract
ird_285_56 (3).pdf 623.0Kb PDF View/Open กิตติกรรมประกาศ
ird_285_56 (4).pdf 585.4Kb PDF View/Open บทที่1
ird_285_56 (5).pdf 1.876Mb PDF View/Open บทที่2
ird_285_56 (6).pdf 546.4Kb PDF View/Open บทที่3
ird_285_56 (7).pdf 1.462Mb PDF View/Open บทที่4
ird_285_56 (8).pdf 561.6Kb PDF View/Open บทที่5
ird_285_56 (9).pdf 574.2Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_285_56 (10).pdf 2.613Mb PDF View/Open ภาคผนวก
ird_285_56 (11).pdf 536.5Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account