dc.contributor.author |
เอี่ยมประไพ, วีณา |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.date.accessioned |
2015-06-20T10:32:02Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T10:32:02Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/331 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
นับตั้งแต่อดีต ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างมีการติดต่อระหว่างกัน ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สัมพันธภาพอันดีหรือความขัดแย้งต่อกันมีสาเหตุมาจากปัจจัยภายในของแต่ละประเทศ และอิทธิพลจากมหาอานาจภายนอกภูมิภาค ทั้งคติความเชื่อ ค่านิยม อุดมการณ์ทางการเมือง ลักษณะดังกล่าวปรากฏในความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มสมาคมอาเซียนด้วย โดยมีการถ่ายทอดให้สังคมไทยได้รับรู้ผ่านสื่ออันหลากหลาย แต่ที่มีบทบาทมากที่สุดคือแบบเรียน เนื่องจากแพร่หลายในวงกว้างผ่านระบบการศึกษาภาคบังคับ การเขียนแบบเรียนซึ่งถูกกาหนดภายใต้วัตถุประสงค์ของรัฐบาลแต่ละยุคสมัย ข้อมูลที่ผ่านการคัดสรร จัดระบบ และทัศนคติของผู้เรียบเรียง มีผลให้ความรับรู้ของสังคมไทยต่อประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนจากัดภายใต้กรอบแนวคิดเรื่องชาตินิยม เพื่อสนองจุดมุ่งหมายการสร้างความรักชาติ ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ด้วยเหตุนี้ มุมมองของไทยต่อประเทศเพื่อนบ้านมีทั้งการเป็นประเทศคู่สงคราม ดังเช่นพม่ามักรุกรานไทย จึงเกิดมีบุคคลสาคัญผู้รักษาเอกราชและกอบกู้ชาติไทย ความเป็นประเทศที่มีสถานะด้อยกว่าไทยคือ กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และเวียดนาม จากการเป็นเมืองประเทศราช การขอรับความอุปถัมภ์เมื่อประสบปัญหาภายในประเทศตน การเป็นอาณานิคมของประเทศตะวันตกในยุคจักรวรรดินิยมขณะที่ไทยยังคงดารงรักษาเอกราชไว้ได้ รวมทั้งท่าทีต่อต้านประเทศกลุ่มอินโดจีนซึ่งปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในยุคสงครามเย็น เมื่อความแตกแยกด้านอุดมการณ์ทางการเมืองสิ้นสุดลง ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เริ่มตระหนักถึงความสาคัญของการร่วมมือกันในระดับภูมิภาค สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือสมาคมอาเซียนซึ่งจัดตั้งในปี 2510 ช่วงสงครามเย็น จากสมาชิก 5 ประเทศก็เพิ่มมากขึ้นอีกเท่าตัว พร้อมไปกับ
การดาเนินงานเพื่อผลประโยชน์ระหว่างกัน ความร่วมมือซึ่งกระชับแน่นดังกล่าวนาไปสู่ข้อตกลงที่จะปรับเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 เมื่อนโยบายต่างประเทศเปลี่ยนแปลงไป แบบเรียนก็ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มขึ้น ทั้งข้อมูลโดยทั่วไปของแต่ละประเทศและการดาเนินงานของสมาคมอาเซียน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2556; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556 |
|
dc.subject |
ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียน |
th_TH |
dc.subject |
ความรับรู้ |
th_TH |
dc.subject |
สังคมไทย |
th_TH |
dc.title |
ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนในความรับรู้ของสังคมไทย |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |