dc.contributor.author |
มกรมณี, รสสุคนธ์ |
|
dc.contributor.author |
อภิชาติบุตรพงศ์, สมรวย |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T11:48:11Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T11:48:11Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/361 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณภายใน ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเป็นมาและความเชื่อมโยงระหว่างจ้าบ๊ะที่เป็นของกินกับจ้าบ๊ะที่เป็นการแสดง และ 2) ศึกษาภูมิหลัง กระบวนการ และวัฒนธรรมการกินน้าแข็งไสของคนไทยในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย ค้าถามการวิจัยคือ 1) ค้าว่าจ้าบ๊ะมีที่มาอย่างไร 2) ท้าไมจึงน้าแข็งไสว่าจ้าบ๊ะ 3) วัฒนธรรมการกินจ้าบ๊ะของคนไทยเป็นอย่างไร ผู้ให้ข้อมูลส้าคัญคือ ผู้บริโภคจ้าบ๊ะจ้านวน 32 คน และผู้ขายจ้าบ๊ะ/น้าแข็งไสจ้านวน 12 คน จาก 6 ภูมิภาค รวม 16 จังหวัด ผลการวิจัยพบว่า 1) ค้าว่า “จ้าบ๊ะ” มาจากภาษาจีนแต้จิ๋ว “จัมบะ” โดย ป. อินทรปาลิตเป็นเป็นคนแรกที่น้าค้านี มาใช้ในภาษาเขียน โดยสะกดค้าตามการออกเสียงแบบไทยๆ ว่า “จ้าบ๊ะ” เพื่อใช้เป็นค้ากริยาวิเศษณ์ประกอบค้า “แทง” ในความหมายว่า ถนัดถนี่ เต็มที่ ไม่ยั งมือ และต่อมาได้น้ามาใช้เป็นค้านามวิเศษณ์ประกอบค้า “ระบ้า” ในความหมายว่า การแสดงระบ้าที่มีการเปลือยกายของผู้หญิงให้เห็นได้อย่างถนัดถนี่ 2) การเรียกน้าแข็งไสว่าจ้าบ๊ะมาจากรูปลักษณ์และวิธีการท้าที่ก่อให้เกิดจินตนาการถึงระบ้าจ้าบ๊ะ 3 ประการคือ 2.1 มีน้าแข็งไสสีขาวที่พูนขึ นคล้ายหน้าอกของนางระบ้าจ้าบ๊ะ 2.2 มีการราดด้วยน้าหวานสีแดงที่ให้สีสันฉูดฉาดเหมือนเครื่องแต่งกายของนางระบ้าจ้าบ๊ะ และ 2.3 มีการโรยนมข้นหวานในลักษณะของการส่ายนมกระป๋องเหนือน้าแข็งไส ซึ่งภาษาพูดจะเรียกว่าสั นๆว่าการส่ายนม ซึ่งเป็นท่าเต้นหนึ่งของนางระบ้าจ้าบ๊ะ 3) “จ้าบ๊ะ” ที่เป็นน้าแข็งไสชนิดหนึ่ง มีต้นก้าเนิดมาจากชาวจีนในจังหวัดเพชรบุรีคิดท้าขึ นจากของเหลือกินในตอนเช้า คือ ปาท่องโก๋ โดยน้าไปทอดให้กรอบ ใส่น้าแข็งไสลงไป ใส่น้าหวานสีแดง แล้วกินในลักษณะเช่นเดียวกันกับการกินน้าแข็งไสที่ใส่เครื่องประกอบอื่นๆ โดยที่ยังไม่ได้เรียกว่า “จ้าบ๊ะ” จนกระทั่งประมาณปี พ.ศ. 2490 เมื่อมีการบริโภคนมข้นหวานอย่างแพร่หลาย และมีการน้ามาใช้เป็นเครื่องปรุงน้าแข็งไสจึงเรียกว่า “จ้าบ๊ะ” ทั งนี จ้าบ๊ะแบบดั งเดิม มีองค์ประกอบเรียงตามล้าดับดังนี คือ 1) ชั นฐาน: ปาท่องโก๋ทอด/ขนมปังหัวกะโหลก หั่นเป็นชิ นพอค้า 2) ชั นน้าแข็ง: น้าแข็งไสใส่ในปริมาณที่พูนสูงขึ นมาให้รูปทรงคล้ายภูเขาหรือกะลาครอบ 3) ชั นน้าเชื่อม: ใช้น้าหวานสีแดง 4) ชั นยอด: โรยนมข้นหวาน จ้าบ๊ะถูกน้าไปเผยแพร่ที่จังหวัดขอนแก่นประมาณปี พ.ศ. 2525 จนเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมเป็นอย่างมากมาจนถึงปัจจุบัน ทั งยังปรับเปลี่ยนให้แตกต่างไปจากของเดิม ในบางพื นที่มีการเรียกน้าแข็งไสที่มีลักษณะเหมือนกันกับ “จ้าบ๊ะ” ด้วยชื่ออื่น ขณะที่ในบางพื นที่มีการใช้ชื่อว่า “จ้าบ๊ะ” แต่ไม่มีรูปลักษณ์และวิธีการท้าเหมือนกับจ้าบ๊ะแบบดั งเดิม ความเข้าใจของคนไทยที่มีต่อจ้าบ๊ะมีความแตกต่างกันไปตามอายุ ประสบการณ์และสถานที่ www |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2555; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2555 |
TH |
dc.subject |
จ้าบ๊ะ |
th_TH |
dc.subject |
กินน้าแข็งไส |
th_TH |
dc.title |
จ้าบ๊ะ: วัฒนธรรมการกินน้าแข็งไสของคนไทย |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |