dc.contributor.author |
สุดเจริญ, ยุทธนา |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.date.accessioned |
2018-03-12T08:01:52Z |
|
dc.date.available |
2018-03-12T08:01:52Z |
|
dc.date.issued |
2018-03-12 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/367 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
เพื่อตรวจคัดกรองพาหะธาลัสซีเมียชนิดแอลฟาในหญิงตั้งครรภ์และคู่สามีโดยวิธี immunochromatographic, IC strip test และวิธี one tube osmotic fragility test (OF) จากนั้นตรวจยืนยันพาหะธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติด้วยวิธี Hb typing (high performance liquid chromatography, HPLC)และวิธี multiplex PCR ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน (gold standard)และประเมินความแม่นยาวิธีการตรวจคัดกรองระหว่าง 2 วิธี
วัสดุและวิธีการ: ได้นาตัวอย่างเลือดของหญิงตั้งครรภ์ และคู่สมรสที่ไม่มีอาการของโรคธาลัสซีเมียที่เก็บจานวน 414 ราย ไปตรวจคัดกรองด้วยวิธี OF (KKU-OF) และวิธี IC strip (GPO αTHAL IC strip test) เพื่อหาพาหะแอลฟาธาลัสซีเมีย-1 และเลือดอีกส่วนหนึ่งได้ตรวจยืนยันพาหะธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินที่ผิดปกติโดยวิธี Hb typing (HPLC)และตรวจเพื่อยืนยันแอลฟาธาลัสซีเมีย-1ทั้งชนิด Southeast Asian deletion (SEA) และ Thai deletionด้วยวิธี multiplex PCR ซึ่งใช้เป็นมาตรฐาน
ผลการศึกษา: ในจานวนหญิงตั้งครรภ์และคู่สามีจานวน 414รายที่เข้าร่วมการศึกษาพบพาหะแอลฟาธาลัสซีเมียทั้งหมด 27 ราย โดยแบ่งเป็น พาหะthalassemia-1 SEA type (Southeast Asia deletion) จานวน 18 ราย ,Thai type (Thai deletion) จานวน 2 ราย ,SEA type ร่วมกับ Thai type จานวน 2 ราย, Hb H (αthalassemia-1/αthalassemia-2) จานวน 3 รายและ HbCSจานวน 2 รายและพบว่าวิธีIC-strip มีค่าความไวของวิธีค่าความจาเพาะของวิธีค่าทานายผลบวกค่าทานายผลลบ และค่าประสิทธิภาพหรือค่าความถูกต้องของวิธีเท่ากับ 92.6%, 95.1%, 56.8%, 99.4% และ 94.9% ตามลาดับ ซึ่งค่าทั้งหมดสูงกว่าวิธี OF ที่มีค่าความไวของวิธี, ค่าความจาเพาะของวิธี, ค่าทานายผลบวก, ค่าทานายผลลบ และค่าประสิทธิภาพหรือค่าความถูกต้องของวิธีเพียง 55.5%, 92.2%, 33.3%, 96.7% และ 89.8% ตามลาดับ
สรุป:วิธี IC strip เป็นวิธีการตรวจคัดกรองที่มีความแม่นยามากกว่าวิธี OFT แต่ไม่สามารถใช้เป็นวิธียืนยันแทนวิธี PCR มีความสะดวกต่อการใช้งานแปลผลง่ายและไม่ต้องการเครื่องมือพิเศษอื่นใดเพิ่มเติมทาให้การตรวจด้วยวิธีนี้น่าจะมีประโยชน์โดยเฉพาะการคัดกรองในกลุ่มประชากรจานวนมาก |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2555; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556 |
|
dc.subject |
โรคธาลัสซีเมีย |
th_TH |
dc.subject |
ฮีโมโกลบินผิดปกติ |
th_TH |
dc.subject |
วิธีตรวจคัดกรอง |
th_TH |
dc.subject |
พาหะแอลฟาธาลัสซีเมีย |
th_TH |
dc.title |
การประเมินความแม่นยา Immunochromatogrphic strip test (GPO αTHAL IC strip test) สาหรับวินิจฉัยพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดแอลฟา |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |