dc.contributor.author |
แสงสุวรรณ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จรรยพัฒน์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-13T04:38:35Z |
|
dc.date.available |
2018-09-13T04:38:35Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-13 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/382 |
|
dc.description |
งบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
หญ้าหวาน ภาษาอังกฤษ Stevia (สตีเวีย) หญ้าหวาน ชื่อวิทยาศาสตร์ Stevia rebaudiana Bertoni มีสารให้ความหวานชื่อ สติวีโอไซด์ (stevioside) เป็นที่นิยมในประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากมีผลการวิจัย หญ้าหวานสามารถควบคุมน้าตาลในเลือด ปัจจุบันจึงผลิตเป็นอุตสาหกรรม
ใส่ในอาหารและเครื่องดื่ม ในประเทศไทยส้าหรับผู้ที่ดื่มชา จะเติมใบหญ้าหวานเพื่อเพิ่มรสหวาน งานวิจัยนี จึงน้าหญ้าหวานจ้านวน 50 กรัมต่อการสกัดแต่ละตัวท้าละลาย โดยใช้ตัวท้าละลาย 6 ชนิด ได้แก่ น้า(F1) น้าและเอทานอล (4:1)(F2) น้า:อะซิโตน(4:1)(F3) ได้สารหวานจ้านวน 34.1 23.6 และ 22.1 มิลลิกรัม ตามล้าดับ และตัวท้าละลายอินทรีย์ เอทิลอะซิเทรต(F4) อะซิโตน(F5) และเมทานอล(F6) สารหวานในการสกัดด้วยน้าได้จ้านวน 3.0 8.0 และ 13.89 มิลลิกรัม ตามล้าดับ จากนั นน้าไปทดสอบสารสติวิโอไซด์ ด้วย 10%H2SO4ในเอทานอล และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วย DPPH ของสารสกัดทั ง 6 ชั นตัวท้าละลายของ F1-F6 ได้ค่า IC50 เป็น ดังนี 44.4, 32.8, 35.2, 43.1, 55.3 และ 149.51 (g/ml)
สมุนไพรส้ารองมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Scaphium scaphigerum (G.Don) Guib.& Planoh. ชื่อสามัญว่า Malva Nut ผลของต้นส้ารอง คือ ลูกส้ารอง เมื่อน้าไปแช่น้าจะแตกออกให้วุ้นซึ่งเป็นเส้นใยอาหาร(dietary fiber) สูงถึง 76% เปลือกหุ้มเมล็ดชั นนอกของลูกส้ารองมีสารเมือก (mucilage) ซึ่งจะพองตัวได้ดีในน้าและดูดซับน้าได้ถึง40-45 มิลลิกรัม/กรัม เกิดเป็นเจลที่เห็นเป็นถุงเล็กเล็กๆที่อุ้มน้าไว้โดยไม่ต้องให้ความร้อน จึงนิยมลูกส้ารองมาใช้กินเพื่อให้อิ่มเร็ว และช่วยก้าจัดไขมันออกจากร่างกายได้โดยการดูดซับไขมันเอาไว้ แล้วขับถ่ายออกมาทางอุจจาระ เนื่องจาก วุ้นในลูกส้ารองเป็นใยอาหารที่ละลายน้าได้ (water soluable dietary fiber) จากการน้าลูกส้ารองผสมผงวุ้นเจลาตินและสารทดแทนความหวานด้วยหญ้าหวาน เติมกลิ่นที่นิยม คือ กลิ่นส้ม กลิ่นชาไทย และคลุกผงบ๊วย ท้าเป็นเยลลี่กัมมี่ จากนั ท้าการทดสอบความชอบ(hedonic scaling 1-9 คะแนน) พบว่าอยู่ในช่วงความชอบเป็น 7และ 8 คือ 35.8 และ 31.9% ในส่วนของความแข็ง ความยืดหยุ่น ความง่ายในการเคี ยว ความหวาน รสเปรี ยวและกลิ่นอยู่ในระดับปานกลางในทุกลักษณธของเยลลี่กัมมี่ ทดสอบฤทธิ์ยับยั งคลอเลสเตอรอล โดย Liebermann-Burchard assay การดูดกลืนแสงที่ 625 nm ในปฏิกิริยาที่คลอเลสเตอรอลท้าปฏิกิริยากับกรดซัลฟุริกเกิดสีม่วงแดง และวุ้นลูกส้ารองสามารถยับยั งคลอเลสเตอรอลคิดเป็นร้อยละ 21 มิลลิกรัม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี2560; |
|
dc.title |
ฤทธิ์ยับยั้งคอเลสเตอรอลของลูกสารองผสมหญ้าหวานในผลิตภัณฑ์เยลลี่กัมมี่เพื่อลดน้าหนักและสุขภาพ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |