dc.contributor.author |
ถิ่นจันทร์, วิภาวรรณ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-13T06:45:43Z |
|
dc.date.available |
2018-09-13T06:45:43Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-13 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/388 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดช่องว่างในองค์กรการเรียนรู้ในชุมชน บ้าน วัด และ โรงเรียน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของชุมชนและพระสงฆ์ ต่อการนาเสนอข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว และวัฒนธรรมท้องถิ่น ของนักศึกษา โดยการรวบรวมข้อมูลจากองค์กรการเรียนรู้ บวร และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อกิจกรรมการรวบรวมข้อมูลจากองค์กรการเรียนรู้ บวร และการนาเสนอด้วยวาจา เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว และวัฒนธรรมท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างรวมทั้งหมด 51 คน จาแนกเป็น ชุมชน 32 คน พระสงฆ์ 1 รูป และ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ 12 คน กลุ่มตัวอย่างได้เข้าร่วมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับผู้สูงอายุ ณ วัดโตนด เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจแบบพรรณนา เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม สถิติ ที่ใช้ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจของชุมชน และพระสงฆ์ ต่อต่อการนาเสนอข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว และวัฒนธรรมท้องถิ่น ของนักศึกษา โดยการรวบรวมข้อมูลจากองค์กรการเรียนรู้ บวร ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ประเด็นที่มีระดับความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด มี 4 ประการ เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ การถ่ายทอดความรู้สู่คนรุ่นหลัง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรม บวร สื่อที่ใช้ในการนาเสนอข้อมูล และ ความรู้ความเข้าใจ แหล่งท่องเที่ยวและวัฒนธรรมท้องถิ่น และ 2) ความพึงพอใจของนักศึกษาโดยนักศึกษา ต่อการนาเสนอข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว และวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยการรวบรวมข้อมูลจากองค์กรการเรียนรู้ บวร โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ประเด็นที่มีระดับความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด มี 5 ประการ เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรม บวร ความรู้ความเข้าใจ แหล่งท่องเที่ยวและวัฒนธรรมท้องถิ่น การสืบสานวัฒนธรรม การประสานสัมพันธ์ในกิจกรรม บวร และ สื่อที่ใช้ในการนาเสนอข้อมูล ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า การบูรณาการองค์กรการเรียนรู้ บวร กับการเรียนการสอนในชั้นเรียนสามารถเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งแรงจูงใจของนักศึกษา และ สานสัมพันธ์ ระหว่าง บ้าน วัด และ โรงเรียน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
ปีงบประมาณ 2560; |
|
dc.subject |
learning community / life-long learning / participatory learning |
th_TH |
dc.title |
การบูรณาการองค์กรการเรียนรู้ “บวร” ในการศึกษาแหล่งท่องเที่ยว และวัฒนธรรมท้องถิ่น |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |