dc.contributor.author |
แจ่มพงษ์, ไพบูลย์ |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-06T08:33:46Z |
|
dc.date.available |
2015-06-06T08:33:46Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-06 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/46 |
|
dc.description |
งานวิจัยทุนงบประมาณภายใน ปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ขยะมูลฝอยนับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส้าคัญปัญหาหนึ่งของชุมชนต่างๆ ทั่วโลก และมีแนวโน้มจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกปีเนื่องจากประชากรที่เพิ่มจ้านวนมากขึ้นรวมทั้งสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจที่เอื้อต่อการบริโภคในรูปแบบต่างๆที่หลากหลายขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส้าคัญ เช่น “ชุมชนอัมพวา” หรือชุมชนที่อยู่ในเขตเทศบาลต้าบลอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งมีตลาดน้้าอัมพวาและมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ส้าคัญของชาติหลายแห่ง อันส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างจ้านวนมาก การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาถึงแนวทางการจัดการขยะ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ใช้วิธีการศึกษาเชิงส้ารวจจากกลุ่มประชาชนในเขตเทศบาลและนักท่องเที่ยว จากนั้นน้าข้อมูลมาวิเคราะห์มุ่งเน้นประเด็นการจัดการขยะและน้าผลมาจัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ระดมความคิดเห็นจากกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาที่ส้าคัญพบว่าขยะในชุมชนเป็นขยะเปียกมากที่สุด รองลงมาเป็นขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล ในด้านการจัดการขยะของครัวเรือนพบว่าร้อยละ 90 มีภาชนะรองรับขยะประจ้าบ้าน ในส่วนการทิ้งขยะของนักท่องเที่ยวพบว่าประมาณร้อยละ 40 ทิ้งขยะในภาชนะรองรับของร้านค้าต่างๆ รองลงมา ทิ้งขยะในภาชนะที่เทศบาลจัดเตรียมไว้ โดยนักท่องเที่ยวกว่าร้อยละ 85 มีความเห็นว่านักท่องเที่ยวสามารถมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะของชุมชนได้ ประเด็นการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน พบว่าประชาชนสามารถมีส่วนร่วมได้ในประเด็นต่างๆดังนี้ 1) ร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการแก้ไขปัญหาขยะของชุมชน 2)ร่วมวางแผนและก้าหนดกิจกรรมแก้ไขปัญหา 3)ร่วมตัดสินใจใช้ทรัพยากรในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหา 4)ร่วมปฎิบัติตามแผน 5)ร่วมติดตามประเมินผลการด้าเนินงานตามแผน 6)ร่วมเสนอแนะปรับปรุงกระบวนการท้างานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในส่วนของนักท่องเที่ยวสามารถมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะของชุมชนได้ดังนี้ 1)ร่วมแสดงความคิดเห็นต่อสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาขยะของชุมชน 2)ร่วมลดปริมาณขยะที่จะเกิดขึ้นในชุมชน 3)ร่วมรักษาความสะอาดทิ้งขยะในภาชนะรองรับที่ชุมชนจัดไว้ โดยในทางปฏิบัติประชาชนสามารถให้ความร่วมมือมากที่สุดคือ ร่วมปฎิบัติตามแผนแก้ไขปัญหาขยะของชุมชน ในส่วนของนักท่องเที่ยวให้ความร่วมมือมากที่สุดคือร่วมรักษาความสะอาดทิ้งขยะในภาชนะรองรับที่ชุมชนจัดไว้ ทั้งนี้ประชาชนและนักท่องเที่ยวคาดหวังที่จะให้เทศบาล บริหารจัดการขยะโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการด้าเนินงาน ให้เทศบาลรณรงค์สร้างจิตส้านึกให้ชุมชนลดปริมาณขยะและทิ้งขยะในภาชนะรองรับ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2553; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2553 |
TH |
dc.subject |
ขยะชุมชน |
th_TH |
dc.subject |
การจัดการขยะ |
th_TH |
dc.subject |
การมีส่วนร่วมของชุมชน |
th_TH |
dc.title |
การจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน บริเวณตลาดน้้า อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |