dc.contributor.author |
นามวงษ์, ศิริลักษณ์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-20T04:18:00Z |
|
dc.date.available |
2018-09-20T04:18:00Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/547 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปปีงบประมาณ 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
แบคทีเรียชอบเค็มจานวน 20ไอโซเลตถูกคัดแยกจากอาหารหมักจากประเทศไทยโดย 5ไอโซเลต (I15-2, K15-1, KL2-4, NSW13-3 และ G15-2) สามารถฟอกสีย้อมในห้องปฏิบัติการได้ในสภาวะที่มีเกลือ 0.5% แบคทีเรียชอบเค็ม 2 ไอโซเลท คือ I15-2 และ K15-1 สามารถฟอกจากสี Methylene blue ได้บางส่วน โดยยังมีสีย้อมผ้าเหลืออยู่ในอาหารเหลว หลังจากการบ่มนาน 7 วัน สาหรับการฟอกจากสี crystal violet มีแบคทีเรียชอบเค็ม 5 ไอโซเลท คือ C15-2, I15-2, NSW13-3, KL2-4 และ G15-2 สามารถฟอกจางสีได้ย้อมได้ โดยไม่พบการฟอกจากสี Safarnin O พบว่าเมื่อเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ลงในระหว่างการฟอกจางสี จะทาให้เกิดการฟอกจางสีย้อมทั้งสามชนิด โดยปัจจัยที่มีผลต่อการฟอกจางสีย้อมทั้ง 3 ชนิด คือ ความเข้มข้นของหัวเชื้อ ความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้นของสีย้อม และจานวนชนิดของหัวเชื้อ จากการทดลองได้พบสภาวะที่เหมาะสมต่อการฟอกจางสีย้อม หรือ การกาจัดสีย้อมในห้องปฏิบัติการ คือ คือ ใช้แบคทีเรียชอบเค็มผสม การเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และสีย้อมแบบเป็นขั้นบันได (stepwise) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการกาจัดสีย้อมผ้า |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัย 2558; |
|
dc.title |
การการปรับปรุงคุณภาพน้าทิ้งที่มีสีย้อมโดยใช้วิธีทางชีวภาพ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |