dc.contributor.author |
ดร.นฤมล, บุญมั่น |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-20T07:04:34Z |
|
dc.date.available |
2018-09-20T07:04:34Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-20 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/567 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
โครงงานวิจัยนี้ทาการศึกษาผลของกรดฟิวซาริกต่อการเข้าสู่ซีสต์และการออกจากซีสต์ของอะแคนทามีบา 4 isolates คือ AS, AR, S3 และ S5 โดย AS และ AR แยกได้จากผู้ป่วยกระจกตาดาอักเสบ ส่วน S3 และ S5 แยกได้จากตัวอย่างดิน เมื่อทาการจัดจาแนกตามจีโนไทป์ AS, AR และS3 อยู่ในจีโนไทป์ T4 ส่วน S5 อยู่ในจีโนไทป์ T5 โทรโฟซอยต์ของอะแคนทามีบาทั้ง 4 isolates ถูกทดสอบด้วยกรดฟิวซาริกที่ระดับความเข้มข้นครึ่งหนึ่งของค่า IC50 พบว่ากรดฟิวซาริกสามารถยับยั้งการเข้าสู่ซีสต์ของ AS ได้บางส่วน แต่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเข้าสู่ซีสต์ได้อย่างสมบูรณ์กับ AR, S3 และ S5 ซีสต์ของอะแคนทามีบาทั้ง 4 isolates ถูกทดสอบด้วยกรดฟิวซาริกที่ระดับความเข้มข้น 4 เท่าและ 8 เท่าของค่า IC50 เป็นเวลา 24 หรือ 48 ชั่วโมง พบว่ากรดฟิวซาริกสามารถยับยั้งการออกจากซีสต์ของอะแคนทามีบาจีโนไทป์ T4 ได้โดยขึ้นอยู่กับความเข้มข้นและระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ ในขณะที่จีโนไทป์ T5 มีความทนทานต่อกรดฟิวซาริกมากกว่า เนื่องจากการออกฤทธิ์ยับยั้งการออกจากซีสต์เกิดขึ้นหลังจาก 48 ชั่วโมงของการทดสอบ โดยไม่ขึ้นกับความเข้มข้นที่ใช้
ผลที่ได้จากงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าเมื่อใช้กรดฟิวซาริกร่วมกับสารต้านอะแคนทามีบาอื่นๆอาจจะทาให้การควบคุมอะแคนทามีบามีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจียปี 2560; |
|
dc.subject |
- |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาผลกระทบของกรดฟิวซาริกต่อการเข้าสู่ซีสต์และการออกจากซีสต์ ของเชื้ออะแคนทามีบา |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |