ภูมิปัญญาการปั้นปูนสดสกุลช่างเพชรบุรีกับการประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์สาธารณะเพื่อสร้างอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรี

DSpace/Manakin Repository

ภูมิปัญญาการปั้นปูนสดสกุลช่างเพชรบุรีกับการประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์สาธารณะเพื่อสร้างอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สังวาลเพ็ชร, นภดล
dc.date.accessioned 2018-09-24T06:50:37Z
dc.date.available 2018-09-24T06:50:37Z
dc.date.issued 2018-09-24
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/617
dc.description งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract โครงการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาการปั้นปูนสดสกุลช่างเพชรบุรีกับการประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์สาธารณะเพื่อสร้างอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรี มุ่งเน้นศึกษาภูมิปัญญา ทางด้านวัสดุ รูปแบบและเทคนิคงานปั้นปูนสดสกุลช่างเพชรบุรี เพื่อการประยุกต์ใช้ในการออกแบบ ตกแต่งผลิตภัณฑ์สาธารณะ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ จากช่างผู้เชี่ยวชาญด้านการปั้นปูนสดสกุลช่าง เพชรบุรี ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ในงานปั้นปูนสดสกุลช่างเพชรบุรีที่สามารถช่วยสร้างอัตลักษณ์ จังหวัดเพชรบุรีได้ ประกอบด้วย ความอสมมาตร เป็นการพลิกแพลงไปตามสติปัญญา และอารมณ์ ความรู้สึกของช่าง จนเกิดเป็นรูปแบบเฉพาะของสกุลช่างเพชรบุรี รูปแบบการปั้นลวดลายให้มี ลักษณะพลิกพลิ้ว ปั้นลายสอดสลับพันเกี่ยวกัน โดยใช้โครงลวดช่วยในการยึดเหนี่ยว รูปแบบตัวทับ ลาย โดยช่างปูนปั้นได้นารูปแบบของการแกะสลักไม้มาประยุกต์เป็นงานปูนปั้น โดยการปั้นลายยื่น ออกมาจากผนังหน้าบัน งานปิดทองร่องกระจก นอกจากเป็นส่วนช่วยเสริมให้งานปูนปั้นเด่นยิ่งขึ้น แล้วยังเป็นการปกป้องให้เนื้อปูนมีอายุยืนนานขึ้น เนื่องจากทอง และกระจกจะเป็นสิ่งที่เคลือบเนื้อปูน ไว้ไม่ให้โดนแดด และฝน เมื่อระยะเวลาผ่านไปส่งผลให้เนื้อปูนกลายเป็นหิน และเมื่อทองหรือกระจก หลุดออกก็ยังคงความสมบูรณ์ของงานปูนปั้นไว้ นอกจากนี้ยังพบว่าคุณสมบัติเฉพาะตัวของปูนสด มี ความเหมาะสมในการนามาใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์สาธารณะ เนื่องจากเป็นปูนที่ผสมกับน้ามาก่อน จึง มีการซึมซับน้า และมีช่องทางระบายและระเหยน้าได้ดี ไม่มีผลต่อการยืดหรือหดตัวของเนื้อปูนที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาภูมิปัญญาด้านวัสดุ รูปแบบและเทคนิคศิลปะการปั้นปูนสดสกุล ช่างเพชรบุรี และนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์สาธารณะเพื่อสร้างอัตลักษณ์ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ และเป็นตัวอย่างในการค้นคว้า และต่อยอดภูมิปัญญาเชิงช่าง ของไทยด้านอื่นๆ ต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี2559;
dc.title ภูมิปัญญาการปั้นปูนสดสกุลช่างเพชรบุรีกับการประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์สาธารณะเพื่อสร้างอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรี th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View
ird_002_59 (1).pdf 213.4Kb PDF View/Open
ird_002_59 (2).pdf 175.8Kb PDF View/Open
ird_002_59 (3).pdf 178.6Kb PDF View/Open
ird_002_59 (4).pdf 83.65Kb PDF View/Open
ird_002_59 (5).pdf 999.2Kb PDF View/Open
ird_002_59 (6).pdf 72.34Kb PDF View/Open
ird_002_59 (7).pdf 1.211Mb PDF View/Open
ird_002_59 (8).pdf 375.5Kb PDF View/Open
ird_002_59 (9).pdf 78.44Kb PDF View/Open
ird_002_59.pdf 225.6Kb PDF View/Open

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account