dc.contributor.author |
แสงฉาย, สัคพัศ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-24T07:36:23Z |
|
dc.date.available |
2018-09-24T07:36:23Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-24 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/622 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการจัดการน้าเสียในเขตองค์การบริหารส่วนต้าบลบางบัวทอง เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้าเสีย แนวทางการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้าเสียทุกระดับ ทั งระดับการรับทราบข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ ระดับการปรึกษาหารือ ระดับการเข้ามาเกี่ยวข้องและระดับการร่วมมือ โดยศึกษาทั ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ส้าหรับการศึกษาเชิงปริมาณ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้าเสีย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชาชนในพื นที่องค์การบริหารส่วนต้าบลบางบัวทอง มีจ้านวน 397 คน ใช้สูตรค้านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ยอมรับความผิดพลาดได้ที่ 0.05 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า ส่วนร่วมเกี่ยวกับการจัดการน้าเสีย โดยรวม อยู่ในระดับมาก (
X
=3.58) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การรับทราบข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X = 3.69) รองลงมา การร่วมมือ ( X = 3.66) การเข้ามาเกี่ยวข้อง ( X =3.54) การปรึกษาหารือ ( X =3.52) การเสริมอ้านาจของประชาชน ( X =3.49) ตามล้าดับ ซึ่งทั ง 5 ด้านมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก
ส้าหรับการศึกษาในเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต้าบล ผู้น้าชุมชน และการเปิดเวทีประชาคมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นสมาชิกหมู่บ้าน ผลการศึกษาพบว่า การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการจัดการน้าเสียที่ส้าคัญ คือ 1) การรับทราบข้อมูลจากองค์การบริหารส่วนต้าบล ควรมีการประชาสัมพันธ์และเผยแผ่ข้อมูล การจัดการน้าเสียในครัวเรือน การมีส่วนร่วมการบ้าบัดน้าเสียในชุมชน 2) การปรึกษาหารือ สมาชิกชุมชนสามารถที่จะระดมความคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อมูล สภาพปัญหาน้าเสียที่ต้องได้รับการแก้ไข และการพัฒนาพื นที่สิ่งแวดล้อมของชุมชน 3) การเข้ามาเกี่ยวข้อง ประชาชนควรมีบทบาทร่วมกับผู้น้าชุมชนในการก้าหนดโครงการ กิจกรรมการบ้าบัดน้าเสีย 4) การร่วมมือ ประชาชนในชุมชนควรมีบทบาทการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติโครงการและกิจกรรมการบ้าบัดน้าเสียเพื่อให้บรรลุผล และ 5) การเสริมอ้านาจของประชาชน ผู้น้าชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน ประชาชน ต้องเป็นผู้ก้าหนดทิศทางการจัดการน้าเสีย การพัฒนาพื นที่ การรักษาสภาพแวดล้อมของชุมชน ด้วยการตัดสินใจร่วมกัน โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม การพึ่งตนเอง การช่วยเหลือซึ่งกันและกันและการรับผิดชอบต่อชุมชนของตนเอง เป็นพลังการขับเคลื่อนชุมชนเสริมสร้างความเข้มแข็งการพัฒนาเชิงพื นที่ ได้อย่างยั่งยืน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี2559; |
|
dc.title |
การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการจัดการน้าเสียในเขตองค์การบริหารส่วนต้าบลบางบัวทอง |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |