Title:
|
การสร้างกราฟระบุน้าหนักและการหาเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเดินทางด้วยจักรยานในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร |
Author:
|
ขันธวิชัย, นายอเสข
|
Abstract:
|
โครงการวิจัยการสร้างกราฟระบุน้าหนักและการหาเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเดิน
ทาง ด้วยจักรยานในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร (Creating Weighted Graphs of Bicycle Routes in Pathum Wan District Bangkok and Finding the Best Path in This Graphs) พัฒนาขึ นมาเพื่อหาเส้นทางในการเลือกเดินทางของผู้ใช้จักรยาน โดยการแปลงเส้นทางให้เป็นกราฟพร้อมทั งให้ค่าน้าหนักเส้นทางด้วยสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับผู้ใช้จักรยานและความเสี่ยงบนเส้นทางต่าง ๆ ซึ่งทีมวิจัยจะเริ่มท้าวิจัยในพื นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เนื่องจากเป็นเขตที่มีเส้นทางจักรยาน จุดจอดและจุดยืมคืนจักรยานมากที่สุด ท้าให้มีองค์ประกอบสนับสนุนในการเลือกใช้จักรยานมากที่สุดและเป็นต้นแบบที่ดีในการสร้างกราฟระบุน้าหนักของเส้นทางจักรยาน ส้าหรับน้าไปประยุกต์ใช้งานกับพื นที่อื่น ๆ ต่อไป โดยโครงการวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพื่อส้ารวจข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจ ในการใช้จักรยาน และเส้นทางจักรยานในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร และสร้างกราฟของเส้นทางจักรยาน ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร พร้อมทั งค้นหาขั นตอนและรูปแบบมาตรฐานส้าหรับก้าหนดเส้นทางที่เหมาะสมของกราฟระบุน้าหนักเส้นทางจักรยานในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยหวังว่าจะเป็นโครงการวิจัยต้นแบบในการศึกษาและขยายพื นที่ในการวิจัยต่อไปได้ในอนาคต
การวิจัยนี เราส้ารวจพบปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเส้นทาง ของผู้ใช้จักรยานในพื นที่เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย มีจุดให้บริการยืมคืนจักรยาน
1()w
มีสถานที่หรือจุดจอดจักรายานที่ปลอดภัย
2()w
มีเลนจักรยานที่ใช้งานได้จริง
3()w
ถนนที่มีหาบเร่แผงลอย และสิ่งกีดขวางน้อย
4()w
ถนนที่มีรถยนต์และผู้คนใช้ทางเท้าน้อย
5()w
ถนนที่มีการจ้ากัดความเร็วรถยนต์ทั งโดยกฎหมายและสภาพแวดล้อม
6()w
เส้นทางไปถึงจุดหมายที่สั นที่สุด
7()w
เส้นทางที่มีมลภาวะที่ไม่พึงประสงค์น้อย
8()w
ทัศนียภาพและสภาพแวดล้อมระหว่างทางดี
9()w
สภาพพื นถนนและทางเท้าเหมาะสมกับการใช้จักรยาน
10()w
เส้นทางที่มีแสงสว่างเพียงพอ และมีกล้องวงจรปิดที่ใช้งานได้จริง
11()w
มีเพื่อนร่วมทาง(ผู้ใช้จักรยานเยอะ)
12()w
และมีจุดแวะระหว่างทาง(ร้านค้า ร้านกาแฟ ฯลฯ)
13()w
ส่วนขั นตอนวิธีในการค้านวณเส้นทางที่ดีที่สุด ส้าหรับผู้ใช้จักรยานในพื นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เราเลือกใช้ขั นตอนวิธีของไดก์สตรา(Dijkstra's algorithm) เนื่องจากสามารถเลือกเส้นทางได้มากกว่า 1 เส้นทางในการค้านวณเพียงครั งเดียว ส่งผลท้าให้ผู้ใช้มีทางเลือกในการเลือกเส้นทางได้มากขึ น |
Description:
|
งานวิจัยงบประมาณมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI:
|
http://hdl.handle.net/123456789/624
|
Date:
|
2018-09-24 |