dc.contributor.author |
ศิริพรนพคุณ, วิสุทธิ์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-25T07:35:00Z |
|
dc.date.available |
2018-09-25T07:35:00Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-25 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/659 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสมุทรสงครามเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นทาให้ความต้องการใช้ที่ดินเปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งพื้นที่ที่เดิมเป็นเกษตรกรรมเปลี่ยนแปลงเป็นที่พักอาศัยเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น สิ่งปลูกสร้างหลายแห่งถมดินลงในคลองที่ขุดเพื่อชักน้าเข้านาหรือสวนที่เรียกกันว่า "ลาประโดง" โดยมีประโยชน์คือเป็นพื้นที่แก้มลิงทางอ้อม โดยส่วนมากเป็นการถมเพื่อสร้างรีสอร์ทบริเวณริมน้า ทาให้ลากระโดงที่อยู่ลึกเข้าไปในร่องสวนมีสภาพแห้งขอดส่งผลให้ร่องสวนที่มีส่วนช่วยรับน้าในช่วงน้าขึ้นหรือในฤดูน้าหลากไม่สามารถรองรับน้าได้อีกต่อไป ผลที่ตามมาก็คือจะทาให้เมื่อถึงช่วงฤดูน้าหลากระดับน้าในแม่น้าแม่กลองจะสูงกว่าปกติ เนื่องจากพื้นที่ที่เคยเป็นแก้มลิงตามภูมิปัญญาชาวบ้านมีพื้นที่ลดลง ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงได้ทาการศึกษาถึงระดับน้าที่เกิดขึ้นจากการลดลงของพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีวัตถุประสงค์ 1. วิเคราะห์การลดลงของพื้นที่เกษตรกรรมซึ่งเป็นพื้นที่รับน้าของจังหวัดสมุทรสงคราม 2.เพื่อคาดการณ์ระดับน้าในแม่น้าแม่กลองตอนล่างจากการลดลงของพื้นที่เกษตรกรรมในจังหวัดสมุทรสงคราม ผลการศึกษาพบว่าการจาลองสถานการณ์การลดลงของพื้นที่เกษตรกรรมโดยแบบจาลอง Nays2D Flood มีผลให้ระดับน้าในแม่น้าเพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อย แต่ระดับน้าสูงสุดรายปีในแม่น้าแม่กลองมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นอาจเนื่องมาจากปัจจัยอื่น ทาให้เกิดภาวะน้าล้นตลิ่งในบริเวณพื้นที่สองฝั่งแม่น้าแม่กลอง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2559; |
|
dc.subject |
แม่น้าแม่กลองตอนล่าง, พื้นที่เกษตรกรรม |
th_TH |
dc.title |
การคาดการณ์ระดับน้าในแม่น้าแม่กลองตอนล่างจากการลดลงของพื้นที่เกษตรกรรมในจังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |