dc.contributor.author |
อัตพุฒ, รองศาสตราจารย์ ดร.ปรุงศักดิ์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-10-02T02:27:25Z |
|
dc.date.available |
2018-10-02T02:27:25Z |
|
dc.date.issued |
2018-10-02 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/761 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การประมาณผลผลิตมะพร้าว ด้วยระบบภูมิสารสนเทศคือการคานวณเชิงพื้นที่ของการสร้างระบบชี้วัดประมาณผลผลิตมะพร้าว ด้วยคุณสมบัติทางด้านคลื่นแสงจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ช่วยในการวิเคราะห์จาแนกรายละเอียดพื้นที่การปลูกมะพร้าวจากพื้นที่เกษตร การประมาณผลผลิตมะพร้าว ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ มีวัตถุประสงค์คือ การประมาณผลผลิตมะพร้าวมีวิธีการอย่างไรและการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของมะพร้าวอยู่บริเวณใด สาหรับการประมาณผลผลิตใช้เทคนิค Spectral Mixture Analysis (SMA) เพื่อค้นหาวัตถุที่ซ่อนตัวในจุดภาพ โดยเทคนิคดังกล่าวจะช่วยให้การจาแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น โดยค่าการสะท้อนแสงของสิ่งปกคลุมดินประเภทมะพร้าว อยู่ที่ 0.7 – 0.8 ไมโครเมตร ผลจากการวิเคราะห์ พบว่าจุดภาพขนาด 30*30 เมตรที่มีมะพร้าวปกคลุมเต็มพื้นที่พบสูงที่สุดกว่า 15,730 จุดภาพ เนื่องจากพื้นที่ศึกษาในพื้นที่เป็นจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกมะพร้าวสูงที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ในขณะที่จุดภาพที่มีมะพร้าวผสมร้อยละ 20-29 มีเพียง 345 จุดภาพ อาเภออัมพวาเป็นอาเภอที่มีจุดภาพที่มีมะพร้าวปกคลุมสูงที่สุดในพื้นที่ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องหลังจากจาแนกจากการลงสารวจภาคสนาม 30 จุดพบว่าวิธีการดังกล่าวมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องหลังการจาแนกอยู่ที่ ร้อยละ 70 (21 จุด จากจานวน 30 จุด) |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2559; |
|
dc.title |
การสร้างระบบชี้วัดประมาณผลผลิตมะพร้าว ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ ในประเทศไทย |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |