dc.contributor.author |
ไพทยวัฒน์, เสาวภา |
|
dc.contributor.author |
ติ้มสันเทียะ, ลินรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ร่วมพัฒนา, สิริขวัญ |
|
dc.contributor.author |
แสงตันชัย, ศิรินภา |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-17T07:06:30Z |
|
dc.date.available |
2015-06-17T07:06:30Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-17 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/76 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณแผนดิน ปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
โครงงานเรื่อง การเปลี่ยนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการสร้างรูปแบบการศรัทธาการทาบุญอย่างมีส่วนร่วมในการทะนุบารุงพระพุทธศาสนาและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย : กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพมหานคร การศึกษาในเรื่องนี้เป็นการสังเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการทาบุญภายในวัดโดยการนาจุดเด่นซึ่งเป็นทุนทางสังคมของวัดมาให้บริการแก่ผู้ที่มาทาบุญ อาทิเช่น การทาบุญตักบาตรหน้าวัด การทาบุญเวียนเทียน โดยแบ่งเป็น 3 รอบคือ รอบกลางวัน รอบเย็น และรอบค่า การจัดโรงเรียนพระพุทธศาสนา การอบรมพระธรรม การฝึกอบรมสมาธิ การจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ของเขตดุสิต การบวชพระภิกษุและสามเณรให้กับบุคคลทั่วไปและกลุ่มชาวเขา การจัดการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย การจัดกิจกรรมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ การเปิดโอกาสให้มีการบริหารงานที่ทันสมัยโดยให้สมาคมและมูลนิธิวัดเบญจมบพิตรเป็นผู้ดูแลด้านการเงิน การจัดบรรยากาศภายในวัดให้เกิดความสงบ สะดวก สมถะและสมานฉันท์ ซึ่งบรรยากาศที่กล่าวมานี้ได้นาครอบครัวของคนในสังคมเมืองเข้ามาทาบุญได้อย่างมีความสุข
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า วัดได้เปลี่ยนแปลงการทาบุญโดยเปิดโอกาสให้ฝ่ายฆราวาสเข้ามามีบทบาทในการบริหารร่วมกับฝ่ายพระสงฆ์และดาเนินงานในรูปแบบของแผนงานและโครงการ โดยมูลนิธิเบญจมบพิตร ซึ่งเป็นมูลนิธิที่พัฒนามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นผู้พิจารณาอนุมัติการใช้เงิน โดยไม่มุ่งสร้างวัตถุมงคลหรือมอมเมาให้ผู้คนเสี่ยงโชคกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด โดยวัดได้ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นนโยบายการบริหารวัด ดังนั้น บรรยากาศโดยทั่วไปของวัดจึงเป็นวัดที่ชนชั้นกลางของสังคมและกลุ่มคนที่เป็นข้าราชการเก่าซึ่งบรรพบุรุษเคยรับใช้พระสงฆ์ในวัดเข้ามามีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมของวัด ภาพลักษณ์ของวัดเบญจมบพิตรสาหรับคนทั่วไปมองว่าเป็นวัดสาหรับชนชั้นสูงหรือวัดจารีตนิยม แต่ในความเป็นจริง วัดได้เปิดพื้นที่ให้คนทุกฐานะเข้ามาทาบุญและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมเมืองมาโดยตลอด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ฝ่ายอุตสาหกรรม
โครงการ ABC-PUS/MAG ประจาปี 2551 |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2553; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2553 |
TH |
dc.subject |
การเปลี่ยนแปลง |
th_TH |
dc.subject |
สังคมเมือง |
th_TH |
dc.subject |
พระพุทธศาสนา |
th_TH |
dc.subject |
อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย |
th_TH |
dc.title |
การเปลี่ยนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการ สร้างรูปแบบศรัทธา การมีส่วนร่วมในการทานุบารุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย :กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |