การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการประเมินระดับความเสี่ยงของการเกิดโรค ไข้เลือดออกในจังหวัดสมุทรสงคราม

DSpace/Manakin Repository

การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการประเมินระดับความเสี่ยงของการเกิดโรค ไข้เลือดออกในจังหวัดสมุทรสงคราม

Show simple item record

dc.contributor.author ชัยพงศ์พัชรา, ธนวัฒน์
dc.date.accessioned 2018-10-03T03:16:39Z
dc.date.available 2018-10-03T03:16:39Z
dc.date.issued 2018-10-03
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/801
dc.description งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบระมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อประเมินระดับความเสี่ยง ของการเกิดโรคไข้เลือดออกในจังหวัดสมุทรสงคราม โดยได้วิเคราะห์ทางสถิติ (p-value < 0.05) หาปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ซึ่งพบว่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ 1.ความหนาแน่นของประชากร 2. จานวนครัวเรือน 3.บริเวณเนื้อที่ของชุมชนและ 4.แหล่งน้าที่มนุษย์สร้างขึ้นแล้วนาข้อมูลเหล่านี้มาสร้าง แบบจาลองเชิงพื้นที่ต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกในจังหวัดสมุทรสงครามโดยการประยุกต์ใช้ระบบภูมิ สารสนเทศและวิธีการซ้อนทับข้อมูลจากปัจจัยต่างๆที่มีความสาคัญ ซึ่งพบว่าพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงมากมีพื้นที่ 37.17 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ9 ของพื้นที่ พื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงมีพื้นที่ 98.76 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ร้อยละ23.89 ของพื้นที่ พื้นที่ที่มีความเสี่ยงปานกลางมีพื้นที่ 54.34 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 13.14 ของพื้นที่และพื้นที่ที่มีความเสี่ยงน้อยมีพื้นที่ 223.12 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 53.97 ของพื้นที่ ขณะที่ ความเสี่ยงโรคไข้เลือดออกในระดับอาเภอพบว่าอาเภอเมืองสมุทรสงครามมีความเสี่ยงสูงมากมีพื้นที่ 37.19 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 21.18 ของพื้นที่ พื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงมีพื้นที่ 79.78 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ร้อยละ 45.44 ของพื้นที่และสาหรับความเสี่ยงโรคไข้เลือดออกในระดับตาบลพบว่าอยู่ระดับความเสี่ยงสูงมาก 2 ตาบลได้แก่ Mae Khlong และ Lat Yai ซึ่งทั้งสองตาบลนี้อยู่ในอาเภอเมืองสมุทรสงครามทั้งสิ้นจาก ผลการวิจัยในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าระบบภูมิสารสนเทศสามารถเป็นหนึ่งเครื่องมือหนึ่งที่ใช้การวางแผนการ ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงและระบบภูมิสารสนเทศมีการแสดงผลที่ไม่ซับซ้อน สามารถให้ประชาชนในพื้นที่รวมทั้งนักท่องเที่ยวสามารถเข้าใจได้ง่ายและทราบถึงระดับความเสี่ยงในพื้นที่ต่อ โรคไข้เลือดออกนาไปสู่การป้องกันตัวเองต่อไปอย่างระมัดระวังเพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรค ไข้เลือดออกในพื้นที่และป้องการระบาดยังพื้นที่อื่นๆจากนักท่องเที่ยวต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี2559;
dc.subject ระบบภูมิสารสนเทศ การประเมินระดับความเสี่ยง โรคไข้เลือดออก th_TH
dc.title การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการประเมินระดับความเสี่ยงของการเกิดโรค ไข้เลือดออกในจังหวัดสมุทรสงคราม th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_262_59.PDF 102.4Kb PDF View/Open ปก
ird_262_59 (1).PDF 123.7Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_262_59 (2).PDF 95.26Kb PDF View/Open abstract
ird_262_59 (4).PDF 221.9Kb PDF View/Open บทที่1
ird_262_59 (5).PDF 235.6Kb PDF View/Open บทที่2
ird_262_59 (6).PDF 225.6Kb PDF View/Open บทที่3
ird_262_59 (7).PDF 672.4Kb PDF View/Open บทที่4
ird_262_59 (8).PDF 196.2Kb PDF View/Open บทที่5
ird_262_59 (9).PDF 184.7Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_262_59 (10).PDF 387.6Kb PDF View/Open ภาคผนวก
ird_262_59 (11).PDF 176.6Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account