dc.contributor.author |
เกษมสวัสดิ์, ศรีสุวรรณ |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-18T03:20:25Z |
|
dc.date.available |
2015-06-18T03:20:25Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-18 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/99 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงส้ารวจโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพซึ่งมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะ 2) ศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้าน น้้า และขยะ อ้าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 3)เพื่อหารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะ โดยข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้จากการส้ารวจเชิงพื้นที่ของอ้าเภออัมพวาโดยเลือกพื้นที่แบบเจาะจงตามโครงสร้างทางสังคมคือเทศบาลต้าบลอัมพวา อบต.ท่าคา อบต.สวนหลวง อบต.บางแค อบต.เหมืองใหม่ อบต.แควอ้อม อบต.บางนางลี่ ส้าหรับการวิจัยเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่อ้าเภออัมพวา จากกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 1,364 คน ใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วนอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ One- Way ANOVA โดยก้าหนดค่าระดับนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส้าหรับตัวแปร 2 กลุ่มใช้ t-test และตัวแปร 2 กลุ่มขึ้นไปใช้ ค่าสถิติ F- test เมื่อพบความแตกต่างจะทดสอบค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้สถิติ LSD (Least Significant Difference Method) และการวิจัยเชิงคุณภาพเลือกกลุ่มตัอย่างแบบเจาะจงในพื้นที่ 6 ต้าบลได้แก่อบต.ท่าคา อบต.สวนหลวง อบต.บางแค อบต.เหมืองใหม่ อบต.แควอ้อม อบต.บางนางลี่ จ้านวนประชากร 63 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยน้าเนื้อหาวิจัยในเชิงปริมาณมาสังเคราะห์พร้อมสร้างกรอบค้าถามและน้ามาท้าการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มแก่กลุ่มตัวอย่าง
ผลการศึกษาพบว่า ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะมีระดับการส่วนร่วมในรายด้านอยู่ในระดับปานกลางได้แก่ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติการ ด้านการประเมินผล ส่วนด้านการได้รับประโยชน์อยู่ในระดับน้อย ดังนั้นระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการน้้าและขยะซึ่ง ประกอบด้วย อายุ ระยะเวลาที่อยู่ในชุมชน การเป็นสมาชิก มีความแตกต่างกันที่นัยส้าคัญทางสถิติ 0.05 ในด้านปฏิบัติการ การรับประโยชน์ และด้านการประเมินผล ส่วนด้านการวางแผนไม่มีความแตกต่างกัน ส้าหรับปัจจัยด้านสถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ มีความ
แตกต่างกันที่นัยส้าคัญทางสถิติ0.05ในด้านด้านปฏิบัติการ การรับประโยชน์ ส่วนการประเมินผลและการวางแผนไม่มีความแตกต่างกัน ส้าหรับรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะมีความสัมพันธ์กับการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะอย่างมีส่วนร่วมใน 4 ประการได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมในด้านการวางแผน ก้านดการวางแผนร่วมกัน ก้าหนดเป้าหมาย ยุทธศาตร์ การตัดสินใจและการสร้างผู้น้ารุ่นใหม่โดยผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างที่ดี 2)การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ เป็นขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม และส่งเสริมช่วยเหลือให้เกิดการปฏิบัติกิจกรรมตามแผน 3) การมีส่วนร่วมในการรับประโยชน์ เป็นการร่วมรับประโยชน์ที่เกิดขึ้นทั้งผลประโยชน์ทางตรงและผลประโยชน์ทางอ้อม 4) การมีส่วนร่วมติดตามประเมินผลและตรวจสอบเป็นการตรวจสอบการด้าเนินงานและการสอบถามความคิดเห็น เพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและน้าไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา เพื่อให้ประชาชนมีระดับการมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้นจ้าเป็นต้องกระตุ้นพฤติกรรมทางด้านจิตส้านึก โดยจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้วยจิตอาสาร่วมกัน โดยภาครัฐต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิดตั้งแต่ริเริ่มโครงการจนกระทั่งเสร็จสิ้น และต้องสร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันอย่างเสมอภาคกัน จะก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
ค้าส้าคัญ การมีส่วนร่วม รูปแบบการมีส่วนร่วม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการน้้า
การจัดการขยะ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2553; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2553 |
TH |
dc.subject |
สิ่งแวดล้อมด้านน้้า |
th_TH |
dc.subject |
ขยะ |
th_TH |
dc.subject |
อัมพวา |
th_TH |
dc.title |
รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการ สิ่งแวดล้อมด้านน้้าและขยะ อ้าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |