Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2561 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2561 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/1249
|
Title: | การพัฒนาสารเคลือบต้านจุลินทรีย์สาหรับยืดอายุกล้วยหอม |
Authors: | พัฒนใหญ่ยิ่ง, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รินรดา |
Issue Date: | 8-Jan-2019 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี 2561; |
Abstract: | จากการทดสอบประสิทธิภาพของลอริคอาร์จิเนต และสารสกัดนามันหอมระเหยจากพืช
สมุนไพร ชนิดต่างๆ เช่น ข่า ขมิ น และหอมหัวใหญ่ ทั งแบบเดี่ยว และแบบผสมร่วมกับไนซิน Z เพื่อ
คัดเลือกสารต้านจุลินทรีย์ที่สามารถเสริมฤทธิ์ของไนซิน Z ในการยับยั งการเจริญของเชื อรา
Colletotrichum musae ATCC96726 ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญของการโรคในกล้วย ด้วยวิธี agar well
diffusion assay ผลปรากฏว่า สารคู่ผสมไนซิน Z และสารสกัดนามันหอมระเหยจากขมิ น มี
ประสิทธิภาพในการยับยั งเชื อรา C. musae ATCC96726 ได้ดีที่สุด โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของบริเวณยับยั ง เท่ากับ 15.00 1.00 มิลลิเมตร รวมทั งมีกิจกรรมในการต้านเชื อรา L.
theobromae และ Fusarium sp. ซึ่งมีความสาคัญในการก่อโรคในกล้วยหอมได้อีกด้วย คณะวิจัย
จึงผลิตสารเคลือบพูลลูแลนต้านจุลินทรีย์โดยใช้สารต้านจุลินทรีย์คู่ผสมที่ประกอบด้วยไนซิน Z และ
สารสกัดนามันหอมระเหยจากขมิ น และทดสอบกิจกรรมการต้านเชื อรา C. musae ATCC96726
โดยวิธี plate overlay assay พบว่าสารเคลือบพูลลูแลนที่มีส่วนผสมของไนซิน Z และนามันหอม
ระเหยจากขมิ น (NE) มีกิจกรรมในการต้านเชื อรา C. musae ATCC96726 ได้ดีกว่าการใช้สารสกัด
นามันหอมระเหยจากขมิ น หรือการใช้ไนซิน Z เป็นสารต้านจุลินทรีย์แบบเดี่ยวประมาณ 7.78 และ
3.95 เท่า ตามลาดับ
จากการทดสอบกิจกรรมการยับยั งการเจริญของเชื อรา C. musae ATCC96726 ของสาร
เคลือบที่ผลิตจากพูลลูแลน และสารเคลือบพูลลูแลนที่มีส่วนผสมของสารยับยั งจุลินทรีย์ในแบบจาลอง
การเก็บรักษากล้วยเสมือนจริง พบว่า การเคลือบขั วหวีกล้วยที่ผ่านการ inoculate เชื อรา C. musae
ATCC96726 ด้วยสารเคลือบพูลลูแลนที่มีส่วนผสมของไนซิน Z ร่วมกับนามันหอมระเหยจากขมิ น
สามารถสามารถยับยั งการเจริญของเชื อรา C. musae ATCC96726 ได้อย่างมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับ
ชุดการทดลองเปรียบเทียบที่ไม่มีการเคลือบขั วหวีกล้วย รวมทั งชุดการทดลองที่เคลือบขั วหวีกล้วย
ด้วยสารเคลือบพูลลูแลน และสารเคลือบพูลลูแลนที่มีส่วนผสมของสารต้านจุลินทรีย์แบบเดี่ยว โดยมี
จานวนเชื อราลดลงอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา 5 วัน รวมทั งยังพบว่า การเคลือบขั ว
หวีกล้วยที่ผ่านการ inoculate เชื อรา C. musae ATCC96726 ด้วยสารเคลือบพูลลูแลนที่มีส่วนผสม
ของไนซิน Z ร่วมกับนามันหอมระเหยจากขมิ น บริเวณขั วหวีผลกล้วยมีความสด เปลือกกล้วยมีความ
ตึงกระชับ และเต่งมาก และไม่พบเส้นใยราเจริญบริเวณขั วหวี ภายหลังการเก็บรักษากล้วยหอมไว้ที่
อุณหภูมิห้อง ซึ่งมีความแตกต่างจากชุดการทดลองอื่นๆอย่างชัดเจน |
Description: | งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/1249 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2561
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|