DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2555 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2555 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/307

Title: การผลิตแก๊สชีวภาพจากซากชีวมวลในร่องสวนของชุมชน ในอาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
Authors: ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์, ชัยศรี
สุวรรณหงษ์, โกวิท
Keywords: แก๊สชีวภาพ
ซากชีวมวล
ร่องสวน
Issue Date: 20-Jun-2015
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Series/Report no.: งานวิจัยปี 2555;
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาวิธีการนาซากชีวมวลในร่องสวนผลไม้ในพื้นที่ อาเภออัมพวามาใช้ประโยชน์ด้วยการผลิตเป็นแก๊สชีวภาพเพื่อใช้ทดแทนแก๊สหุงต้มในครัวเรือน และศึกษาหารูปแบบของการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการผลิตและการใช้ประโยชน์จากแก๊สชีวภาพที่ผลิตจากซากชีวมวลในร่องสวนในพื้นที่ โดยใช้กระบวนวิจัย 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย (1) การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินงานวิจัยร่วมกับชุมชน และคัดเลือกพื้นที่ตัวอย่างในอาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (2)ทาการสารวจเก็บตัวอย่างแก๊สในร่องสวนผลไม้ จานวน 5 จุดในตาบลบางนางลี่ซึ่งได้ผ่านการคัดเลือกเป็นพื้นที่ศึกษา (3)เก็บซากชีวมวลในรูปของตะกอนโคลนมาทดลองผลิตแก๊สชีวภาพโดยผสมกับมูลสัตว์ในสัดส่วนที่ต่างกัน นาผลที่ได้จากการทดลองนาไปแนะนาให้ชุมชนและทดลองผลิตแก๊สชีวภาพภายในชุมชนที่พบแก๊สในร่องสวนมากที่สุด และ(4)ประเมินระดับความพึงพอใจของชุมชน ผลการวิจัยพบว่าตัวแทนในพื้นที่อาเภออัมพวาร้อยละ 65 เลือกพื้นที่ตาบลบางลี่เป็นพื้นที่ศึกษาเนื่องจากเป็นพื้นที่ลุ่มแอ่ง มีสวนผลไม้ และร่องสวนทั่วทั้งตาบล ผลการสารวจปริมาณแก๊สชีวภาพในร่องสวนจานวน 5 จุดพบมีแก๊สสะสมในตะกอนดินโคลน 50-52 ลิตรต่อตารางเมตร โดยพบแก๊สมีเทน 62.5-65.5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ผลการทดลองนาตะกอนดินโคลนมาผลิตแก๊สชีวภาพร่วมกับมูลสัตว์พบว่าสามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้สูงสุดที่ 55.5 ลิตรที่สัดส่วนตะกอนดินโคลนต่อมูลสัตว์ 1:1 และผลการผลิตแก๊สชีวภาพในระดับชุมชนที่ขนาดความจุของหลุมหมักแก๊ส 4000 ลิตร พบว่าสามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้ถึง 56.4 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตรที่ระยะเวลานานถึง 40 วัน ผลการประเมินผลระดับความพึงพอใจของชุมชน ผลการวิจัย พบว่า ร้อยละ 89.5 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดต่อการเข้าร่วมวิจัย ร้อยละ 82.4 มีความพึงใจในระดับมากที่สุดหากมีโครงการนาวัสดุเหลือทิ้งทางเกษตร/ครัวเรือน วัชพืชน้าและโคลนในร่องสวนมา ผลิตแก๊สชีวภาพที่สามารถนามาใช้ครัวเรือนได้ และพบประเด็นชุมชนมีระดับความรู้ด้านการผลิตและการใช้ประโยชน์จากแก๊สชีวภาพมากถึง 85 เปอร์เซ็นต์
Description: งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/307
Appears in Collections:แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2555

Files in This Item:

File Description SizeFormat
ird_025_55 (1).pdfปก79.33 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (2).pdfบทคัดย่อ255 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (3).pdfAbstract216.23 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (4).pdfกิตติกรรมประกาศ524.57 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (5).pdfบทที่1298.38 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (6).pdfบทที่2626.14 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (7).pdfบทที่3355.73 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (8).pdfบทที่4698.34 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (9).pdfบทที่5282.25 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (10).pdfบรรณานุกรม333.71 kBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (11).pdfภาคผนวก1.55 MBAdobe PDFView/Open
ird_025_55 (12).pdfประวัตินักวิจัย356.73 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback