DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2560 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/461

Title: การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธาน
Authors: กอบัวแก้ว, สมเกียรติ
Keywords: มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) วิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธาน
Issue Date: 18-Sep-2018
Series/Report no.: งานวิจัย 2560;
Abstract: มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเป็นข้อก าหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยชุมชน เป็น การส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชน น าภูมิปัญญาพื้นบ้านและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็น ผลิตภัณฑ์ออกจ าหน่าย เกิดการจ้างงานสร้างรายได้ สร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพ และเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ได้รับความเชื่อถือและยอมรับจากผู้บริโภคมากขึ้น กระทรวงอุตสาหกรรมได้ ก าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้มาตรฐาน พร้อมที่ จะพัฒนาคุณภาพสู่มาตรฐานระดับประเทศและระดับสากลต่อไป ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการด าเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์หนึ่งต าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี 2) เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชน อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีสู่การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่ม ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ชนิดปลายเปิด ผลการศึกษา บริบทเบื้องต้นของพื้นที่ด าเนินการวิจัย พบว่า อ าเภอบ้านดุง เป็นอ าเภอหนึ่ง ของจังหวัดอุดรธานีและเป็นอ าเภอที่มีจ านวนประชากรมากเป็นอันดับสอง ของจังหวัดอุดรธานีแบ่ง พื้นที่การปกครองออกเป็น 13 ต าบล 140 หมู่บ้าน และผลการด าเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ชุมชน ในเรื่อง แนวทางการปฏิบัติการด าเนินงานรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนของหน่วย รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนระดับจังหวัด และความรู้ด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ข้อก าหนดมาตรฐาน และวิธีการขอใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ด้วยกระบวนการ ฝึกอบรมให้ความรู้แก่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีมีผู้เข้าร่วมรับการ ถ่ายทอดทั้งหมด 29 กลุ่ม และผ่านการพิจารณาคัดกรองตามเกณฑ์มาตรฐานเพื่อยกระดับมาตรฐาน การผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน พร้อมยื่นค าขอใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) จ านวนทั้งหมด 29 กลุ่ม และจากการติดตามผลการอนุมัติ พบว่า กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับใบรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ทั้งสิ้น จ านวน 18 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 62.07 ของกลุ่มฯที่ยื่นทั้งหมด 29 กลุ่ม ส าหรับกลุ่มฯ ที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติ มีจ านวน 11 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 37.93 โดยต้องรอการ คัดสรรและรอการอนุมัติจากหน่วยงานอุตสาหกรรมจังหวัดต่อไป และผลการติดตามการด าเนินงาน ของกลุ่มผู้ผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยการสัมภาษณ์ประธานวิสาหกิจชุมชน ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน จ านวน 8 กลุ่ม โดยการสุ่มสัมภาษณ์พบว่า กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ ใช้วัสดุจากธรรมชาติ คิด เป็นร้อยละ 87.50 และวัสดุที่ไม่ใช่ธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 12.50 และมีระดับคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ ระดับ 2 ดาว คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับ 3 ดาว คิดเป็นร้อยละ 37.50 และระดับ 4 ดาว คิดเป็นร้อยละ 12.50 ตามล าดับ นอกจากนี้ ยังพบว่า กลุ่มผู้ผลิต มีปัญหาที่คล้ายๆ กัน ได้แก่ ปัญหาการขาดเงินทุนสนับสนุนขาดทุนหมุนเวียน ปัญหาสถานที่ในการผลิตคับแคบ ปัญหาขาดคน ด าเนินการในการน าสินค้าไปจ าหน่ายยังตลาดที่อยู่ไกลบ้าน ปัญหาคนรุ่นหลังไม่สนใจการจัดท า ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ปัญหาขาดความรู้ในเรื่องตลาดออนไลน์และปัญหาในเรื่องการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น
Description: งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีการศึกษา2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/461
Appears in Collections:แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560

Files in This Item:

File Description SizeFormat
1 ปก.pdfปก177.58 kBAdobe PDFView/Open
2 บทคัดย่อ.pdfบทคัดย่อ110 kBAdobe PDFView/Open
3 กิตติกรรมประกาศ.pdfกิติกรรมประกาศ96.12 kBAdobe PDFView/Open
4 บทที่ 1.pdfบทที่1130.55 kBAdobe PDFView/Open
5 บทที่2.pdfบทที่2655.84 kBAdobe PDFView/Open
6 บทที่3.pdfบทที่3151.05 kBAdobe PDFView/Open
7 บทที่4.pdfบทที่45.59 MBAdobe PDFView/Open
8 บทที่5.pdfบทที่5308.37 kBAdobe PDFView/Open
9 บรรณานุกรม.pdfบรรณานุกรรม120.27 kBAdobe PDFView/Open
10 ภาคผนวก.pdfภาคผนวก903.91 kBAdobe PDFView/Open
11 ประวัติผู้วิจัย.pdfประวัตินักวิจัย75.7 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback