DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2560 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/477

Title: การใช้ดอกดาวเรืองเหลือทิ้งเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเพิ่มมูลค่า
Authors: นามวงษ์, ศิริลักษณ์
พึ่งสาราญ, ณัฐกมล
คำพันธ์, เสาวณีย์
Keywords: ดาวเรือง การเพิ่มมูลค่า กระดาษกาจัดกลิ่น ผลิตภัณฑ์ไล่ยุ่ง ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพ
Issue Date: 18-Sep-2018
Series/Report no.: งานวิจัย 2560;
Abstract: แผนงานวิจัย การใช้ดอกดาวเรืองเหลือทิ้งเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเพิ่มมูลค่า คือ การลดปริมาณดอกดาวเรืองเหลือทิ้งในชุมชน โดยการนามาแปรรูปเป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างผลิตภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เช่น สร้างวัสดุที่มีคุณสมบัติเร่งปฏิกิริยาการย่อยลายสีย้อมผ้าสังเคราะห์ การผลิตกระดาษกาจัดกลิ่น และผลิตภัณฑ์ไล่ยุง โครงการย่อยภายใต้แผนงานวิจัยมีทั้งหมด 3 โครงการ ได้แก่ (1) ผลิตภัณฑ์ไล่ยุงจาก ดาวเรือง (2) การผลิตวัสดุกาจัดสีย้อมผ้าที่สามารถใช้ซ้าได้ (3) การผลิตกระดาษกาจัดกลิ่นจากดอก ดาวเรือง การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีระยะเวลา 2 ปี ดาเนินการวิจัยในระดับห้องปฏิบัติการดาเนินการที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ผลการดาเนินงาน สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ 3 ชนิด คือ ผลิตภัณฑ์ไล่ยุงจากดาวเรือง กระดาษ สาผสมดาวเรืองและผงถ่าน และ ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพที่สามารถใช้ซ้าได้ ผลิตภัณฑ์ชนิดแรก คือ ผลิตภัณฑ์ไล่ยุงจากดาวเรือง ใช้สารสกัดชั้นเอทานอล ซึ่งสามารถไล่ยุงได้นาน 2 ชั่วโมง ผลิตผลิตภัณฑ์ ไล่ยุงจากดาวเรืองได้นามาแสดงในงานสุนันทาวิชาการ ผลิตภัณฑ์ที่สอง คือ กระดาษกาจัดกลิ่นจาก ดอกเรือง ปีที่ 1 ได้กระดาษกกผสมดาวเรือง (กก ต่อ ดาวเรือง, 70 : 30) ค่าความขาวสว่าง (L*) 90.36 ความเรียบ 2.20 วินาที-เบคค์ (s-BEKK) ค่าดัชนีต้านแรงฉีกขาด 9.18 นิวตัน–ตารางเมตร ต่อ กิโลกรัม (N-m2 /Kg) ปีที่ 2 ได้กระดาษสาผสมดาวเรืองและผงถ่านกัมมันต์ โดยสาทาให้ผงถ่านกัม มันต์ติดที่เยื่อกระดาษ อัตราส่วนสากับดาวเรือง เท่ากับ 70:30 นาเยื่อกระดาษ 300 กรัม ผสมกับผง ถ่านกัมมันต์ 100 กรัม ได้กระดาษมีสีดา ผลิตภัณฑ์ที่สาม คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพที่สามารถใช้ซ้า ได้ ปีที่ 1 ได้พบแบคทีเรียชอบเค็มสายพันธุ์ที่สามารถฟอกจางสีน้าเงินได้ คือ C15-2 และ SR5-3aw นาเซลล์ไปตรึงกับ 1 เปอร์เซนต์ อัลจิเนต และ 2.5 เปอร์เซนต์ เจลาติน โดยเซลล์ตรึงภาพสามารถใช้ ซ้าได้ 4 รอบ ที่ pH 7.2 และ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ปีที่ 2 พัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพเพื่อลด การรั่วของเซลล์ออกจากเม็ดบีด โดยใช้ เจลาติน : อัลจิเนต : ไคโตซาน เท่ากับ 1:1:1 การนาเซลล์ตรึง รูปกลับมาใช้ซ้าสาหรับการฟอกจางสีน้าเงิน (Cationic blue 41) ได้ 3 รอบ และการฟอกจางสีแดง (Red 46) เฉพาะเซลล์ตรึงรูปของ C15-2 สามารถนากลับมาใช้ได้ 4 ครั้ง และสร้างตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี (Fe/P) โดยใช้สีย้อมผ้าที่ความเข้มข้นเริ่มต้นที่ 20 ppm พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยสลายสี ย้อม cationic blue 41 ด้วยตัวเร่ง Fe/P คือ ความเข้มข้นเริ่มต้นสีย้อม 20 ppm เติมไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ 1 mL อุณหภูมิ 50 C ภายในเวลา 180 นาที การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีมีแนวโน้มจะ สามารถนาไปใช้ได้ในระบบบาบัดน้าเสียที่มีสีย้อมเป็นองค์ประกอบได้
Description: งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/477
ISSN: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Appears in Collections:แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560

Files in This Item:

File Description SizeFormat
0.ปก.pdfปก102.5 kBAdobe PDFView/Open
1.บทคัดย่อ.PDFบทคัดย่อ97.28 kBAdobe PDFView/Open
2.กิตติกรรมประกาศ.PDFกิตติกรรมประกาศ78.45 kBAdobe PDFView/Open
3.สารบัญ.PDFสารบัญ80.3 kBAdobe PDFView/Open
รายงานแผนสมบูรณ์-การใช้ดอกดาวเรืองเหลือทิ้งศิริลักษณ์-นามวงษ์-ปี59-60.pdfรายงานแผนสมบูรณ์1.27 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback