Title:
|
การบันทึกเสียงเพลงไทย : กรณีศึกษาแผํนเสียงรํองกลับทาง |
Author:
|
จะสุวรรณ์, ศันสนีย์
|
Abstract:
|
การวิจัยเรื่อง การบันทึกเสียงเพลงไทย : กรณีศึกษาแผํนเสียงรํองกลับทาง มี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของแผํนเสียงรํองกลับทาง และเพื่อรวบรวมบทเพลงที่
บันทึกลงบนแผํนเสียงรํองกลับทาง ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ เป็นการวิจัย
เอกสาร (Documentary Research) เก็บข๎อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ( In-depth Interview)
ผู๎ที่มีความรู๎เกี่ยวกับเพลงไทย ผู๎ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของแผํนเสียง
ผลการศึกษาพบวำ
การบันทึกเสียงในประเทศไทยเริ่มในปีพ.ศ.2435-2536 ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเริ่ม
จากการบันทึกเสียงลงบนกระบอกเสียงแบบขี้ผึ้ง โดยการกรอกเสียงลงบนดอกลาโพง เลํนด๎วยการ
ไขลาน โดยมีหลักฐานปรากฏวำเป็นการบันทึกเพลงพื้นบ๎านคือเพลงเป๋ (เพลงฉํอย) จากนั้นเป็นการ
บันทึกการแหลํ แล๎วจึงพบหลักฐานการบันทึกเพลงไทยที่บรรเลงด๎วยวงดนตรีไทย ทั้งวงปี่พาทย์
และวงมโหรี โดยการบันทึกที่เมืองไทย แล๎วสํงไปอัดแผํนที่เบลเยี่ยมบ๎าง อินเดียบ๎าง เดิมเป็นการ
บันทึกโดยไมํใช๎ไฟฟูา มีการบันทึกโดยใช๎ไฟฟูาในตอนปลายรัชกาลที่ 6
การบันทึกเสียงลงแผํนเสียงรํองกลับทางนั้น มีอยูํ 2 รุํนที่พบคือแผํนเสียงแบบ
Berliner ของ Emile Berliner ผลิตอยูํระหวำงพ.ศ. 2434 – พ.ศ.2443 มีหลักฐานการบันทึกใน
สมัยรัชกาลที่ 5 โดยนักดนตรีของวังบ๎านหม๎อ ของเจ๎าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นหลัก ในชํวง
ระหวำงปีพ.ศ.2443 เป็นต๎นมา มีทั้งเพลง 3 ชั้น เพลงตับ และเพลงประกอบละครดึกดาบรรพ์และ
แผํนเสียงรํองกลับทางตราไกํของ Chales Pathe เลํนโดยใช๎เข็มเพชร บทเพลงที่ปรากฏหลักฐาน
สํวนใหญํจะเป็นเพลงแหลํ เพลงฉํอย (เพลงเป๋) เพลงพื้นบ๎าน เพลงเบ็ดเตล็ด |
Description:
|
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
URI:
|
http://hdl.handle.net/123456789/110
|
Date:
|
2015-06-19 |