dc.contributor.author |
รุ่งเรือง, ชนินทร์ |
|
dc.contributor.author |
ศรีระยับ, พงษ์พัฒน์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-01-23T08:31:58Z |
|
dc.date.available |
2019-01-23T08:31:58Z |
|
dc.date.issued |
2019-01-23 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1371 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการสาหรับนักศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 1
(The 1st FIT SSRU Conference 2018) |
th_TH |
dc.description.abstract |
ในปัจจุบันเครื่องทาน้าเย็น ใช้ส่วนประกอบที่มีราคาสูง เช่น คอมเพรสเซอร์ ซึ่งมีมอเตอร์เป็น
ส่วนประกอบซึ่งใช้พลังงานไฟฟ้าสูงตลอดเวลา และการใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการขยายตัว
ของประชากร จึงได้มองเห็นพลังงานทดแทน และได้นาเอาพลังงานจากแสงอาทิตย์มาประยุกต์ใช้ในการผลิต
ไฟฟ้า โครงงานนี้เสนอตู้ทาน้าเย็นพลังงานแสงอาทิตย์โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นส่วนของเพลเทียร์
ที่ทาความเย็น โดยโครงสร้างคือ ใช้แผ่นเพลเทียร์ขนาด 12 โวลต์ 60 วัตต์ ด้านที่ให้ความเย็นจะทาให้น้าที่อยู่
ในกล่องสแตนเลสเกิดความเย็น และด้านที่มีความร้อนจะใช้พัดลมติดกับฮีตซิงก์ระบายความร้อน ส่วนที่สอง
เป็นส่วนของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงสร้างคือ ใช้แผงโซล่าเซลล์ขนาด 24 โวลต์ 120 วัตต์
ถูกควบคุมและจ่ายแรงดันไฟฟ้าโดยใช้ โซล่าชาร์จคอนโทรลเลอร์ขนาด10 แอมป์ 12 โวลต์ พลังงานไฟฟ้า
ที่ได้มาจะถูกบรรจุไว้ในแบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์ 70 แอมป์ และถูกจ่ายให้กับเพลเทียร์ และพัดลมระบาย
ความร้อน จากการทดสอบพบว่าระบบผลิตไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์สามารถผลิตไฟฟ้าได้สูงสุดประมาณ 13.8 ถึง
19.8 โวลต์ ช่วงเวลา 10.00 น. ถึง 15.00 น. เมื่อตู้ทาน้าเย็นพลังงานแสงอาทิตย์ทางานส่วนที่เป็นเพลเทียร์
กับพัดลมระบายความร้อนจะใช้กระแสไฟฟ้า 3.59 แอมป์ โดยสามารถทาน้าเย็นมีอุณหภูมิต่าสุดที่ …
องศาเซลเซียส ตู้ทาน้าเย็นพลังงานแสงอาทิตย์จะสามารถใช้งานได้ประมาณ 10 ชั่วโมง โดยใช้ไฟฟ้าจาก
แบตเตอรี่ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
พลังงานแสงอาทิตย์, เทอร์โมอิเล็กทริค |
th_TH |
dc.title |
ตู้ท้ำน้ำเย็นพลังงำนแสงอำทิตย์ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |