dc.contributor.author |
แสงอำไพ, นันทวิช |
|
dc.contributor.author |
ไวจิตรกรรม, พิบูล |
|
dc.date.accessioned |
2019-01-23T09:57:54Z |
|
dc.date.available |
2019-01-23T09:57:54Z |
|
dc.date.issued |
2019-01-23 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1391 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการสาหรับนักศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 1
(The 1st FIT SSRU Conference 2018) |
th_TH |
dc.description.abstract |
สื่อประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์เรียนรู้ราษฎรบนพื้นที่สูง ได้เล่าถึงเรื่องราวต่าง ๆ ของชาวเขา ซึ่งครอบคลุม
ทุกเรื่องราวในวิถีชีวิต ตั้งแต่ที่พักอาศัย การแต่งกาย สิ่งของเครื่องใช้ ประเพณี เครื่องดนตรี ของกลุ่มชาติพันธุ์
บนพื้นที่สูงในประเทศไทย หรือที่เรียกกลุ่มชนเหล่านี้ว่า “ชาวเขา” ซึ่งมีด้วยกันถึง 10 ชนเผ่า คือ กะเหรี่ยง,
ม้ง (แม้ว), เมี่ยน (เย้า), ลีซู (ลีซอ), ลาหู่ (มูเซอ), อาข่า (อีก้อ), ลัวะ, ถิ่น, ขมุ และมลาบรี (ผีตองเหลือง)
สื่อประชาสัมพันธ์ออกแบบให้สอดคล้องตามกลุ่มวัยรุ่น เพื่อให้เกิดการสร้างภาพจินตนาการได้ด้วยการสัมผัส
ถึงบรรยากาศวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณี วัฒนธรรม ที่มีเอกลักษณ์ จุดเด่นของแต่ละชนเผ่าที่มี
ความแตกต่างทางวัฒนธรรม โดยใช้รูปแบบการออกแบบที่สนุกสนาน ข้อมูลกระชับง่ายต่อการเข้าใจ และมี
ลักษณะที่แปลกใหม่น่าสนใจ วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ เพื่อออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์เรียนรู้
ราษฎรบนพื้นที่สูงให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ดาเนินการวิจัยด้วยการสอบถามจากกลุ่มนักศึกษาวัยรุ่น และ
สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ
ผลการวิจัย พบว่า 1) พิพิธภัณฑ์เรียนรู้ราษฎรบนพื้นที่สูงเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น 2) สื่อ
ประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์เรียนรู้ราษฎรบนพื้นที่สูงมีเนื้อหาที่กระชับเข้าใจง่าย มีภาพประกอบที่ดูสนุกสนาน
และสีสันสดใส 3) ส่งเสริมให้วัยรุ่นในปัจจุบันหันมาสนใจและให้ความสาคัญกับคุณค่าของวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อและภูมิปัญญาของชาวเขา เพื่อไม่ให้สูญหายไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์, กลุ่มชาติพันธุ์, วัยรุ่น |
th_TH |
dc.title |
การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์เรียนรู้ราษฎรบนพื้นที่สูง |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |