การศึกษาและพัฒนาเอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียงเพื่อประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก เพื่อพัฒนารูปแบบเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรม ของที่ระลึกจังหวัดอุดรธานี

DSpace/Manakin Repository

การศึกษาและพัฒนาเอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียงเพื่อประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก เพื่อพัฒนารูปแบบเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรม ของที่ระลึกจังหวัดอุดรธานี

Show simple item record

dc.contributor.author จันทราสา, รจนา
dc.contributor.author เรืองวรรณศักดิ์, กนิษฐา
dc.contributor.author พัฒนปณิธิพงศ์, ภานุ
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.date.accessioned 2015-06-04T08:29:17Z
dc.date.available 2015-06-04T08:29:17Z
dc.date.issued 2015-06-04
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/15
dc.description งานวิจัยงบประมาณภายใน ปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การศึกษาและพัฒนาเอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียงเพื่อประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก เพื่อพัฒนารูปแบบเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมของที่ระลึกจังหวัดอุดรธานี มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อวิเคราะห์เอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียง ในการนามาประยุกต์ร่วมกับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติกได้ 2)เพื่อออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติกจังหวัดอุดรธานี จานวน 3 ผลิตภัณฑ์ ให้มีความสวยงามเหมาะสมกับเอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียง 3)เพื่อประเมินผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติกที่มีต่อผลิตภัณฑ์หัตถกรรมผ้าที่ออกแบบและพัฒนานาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ จานวน 3 ผลิตภัณฑ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนจังหวัดอุดรธานี 100 คน สอบถามให้ได้มาซึ่งเอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียงที่เหมาะสมในการประยุกต์ร่วมกับผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก แล้วประเมินรูปแบบ โดย ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน จานวน 3 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จานวน 3 ท่าน เพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบในการประยุกต์ร่วมกับผลิตภัณฑ์ จากนั้นสร้างต้นแบบแล้วประเมินผลวัดระดับความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์หัตถกรรมผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติกที่ได้จากการออกแบบ ผลการวิจัยพบว่า 1)เอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียง ที่สามารถสื่อถึงเอกลักษณ์บ้านเชียงได้ชัดเจนมากที่สุด คือ ลวดลายขดก้นหอยของบ้านเชียง ผู้บริโภคมีความต้องการผลิตภัณฑ์หัตถกรรมของที่ระลึกจังหวัดอุดรธานีจากผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติกลายบ้านเชียงประเภทชุดผ้าปูที่นอน มากที่สุด รองมาคือ คือ เฟอร์นิเจอร์ เก้าอี้ และโคมไฟประดับบ้านตามลาดับ 2)ผลการวิเคราะห์การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปโดยผู้เชี่ยวชาญการออกแบบ รูปแบบของชุดผ้าปูที่นอน เก้าอี้ และโคมไฟ ที่ออกแบบและพัฒนานั้นมีความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย เหมาะสมกับวัสดุและกรรมวิธีการผลิต มีความสวยงามและลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ อยู่ในระดับมากที่สุด 3)ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์หัตถกรรมผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก มีความพึงพอใจเก้าอี้นั่งเล่นมากที่สุด รองลงมาคือ ชุดผ้าปูที่นอน และโคมไฟประดับบ้าน ตามลาดับ th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language TH TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2553;
dc.source งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2553 TH
dc.subject เอกลักษณ์ลวดลาย th_TH
dc.subject บ้านเชียง th_TH
dc.title การศึกษาและพัฒนาเอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียงเพื่อประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก เพื่อพัฒนารูปแบบเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรม ของที่ระลึกจังหวัดอุดรธานี th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_005_53.pdf 295.4Kb PDF View/Open ปก
ird_005_53 (1).pdf 264.1Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_005_53 (2).pdf 253.6Kb PDF View/Open Abstract
ird_005_53 (3).pdf 360.1Kb PDF View/Open กิติกรรมประกาศ
ird_005_53 (4).pdf 317.4Kb PDF View/Open บทที่ 1
ird_005_53 (5).pdf 2.560Mb PDF View/Open บทที่ 2
ird_005_53 (6).pdf 359.5Kb PDF View/Open บทที่ 3
ird_005_53 (7).pdf 2.474Mb PDF View/Open บทที่ 4
ird_005_53 (8).pdf 687.2Kb PDF View/Open บทที่ 5
ird_005_53 (9).pdf 308.4Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_005_53 (10).pdf 2.110Mb PDF View/Open ภาคผนวก

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account