อาชีพส่วนตัวกับการแก้ปัญหาความยากจนของผู้ประกอบการเขตดุสิต

DSpace/Manakin Repository

อาชีพส่วนตัวกับการแก้ปัญหาความยากจนของผู้ประกอบการเขตดุสิต

Show simple item record

dc.contributor.author ชยางกูร, ศิวิไล
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.date.accessioned 2015-06-20T05:45:45Z
dc.date.available 2015-06-20T05:45:45Z
dc.date.issued 2015-06-20
dc.identifier.issn มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/195
dc.description งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องอาชีพส่วนตัวกับการแก้ปัญหาความยากจนของผู้ประกอบการเขตดุสิตมีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาสภาพปัญหาและทัศนคติของผู้ประกอบอาชีพส่วนตัวโดยออกแบบสอบถามและสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเพื่ออุดช่องว่างจากการตอบแบบสอบถาม ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจานวน 200 ราย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อยู่ในวัยกลางคนเคยผ่านการทางานในระบบมาแล้ว ระดับการศึกษาปานกลาง อยู่ในฐานะหัวหน้าครอบครัวเป็นส่วนมาก ประกอบอาชีพในเขตดุสิตเป็นเวลา 4-6 ปี ร้อยละ 38 รองลงมา 1-3 ปี ร้อยละ 20 ระยะเวลา 7-9 ปี ร้อยละ 19 มากกว่า 10 ปี ร้อยละ 16 น้อยกว่า 1 ปีร้อยละ 7และประกอบอาชีพนี้เป็นงานหลัก แสดงถึงการประกอบอาชีพส่วนตัวเป็นแหล่งสร้างงานที่มีความสาคัญ สถานที่ขายสินค้าและที่พักอาศัยไม่ได้อยู่ที่เดียวกัน ที่พักอาศัยเป็นบ้านเช่าร้อยละ 47 เจ้าของบ้านเองร้อยละ 36 สินค้าที่ขายเป็นอาหารปรุงสาเร็จรูป อาหารแห้ง สินค้าทั่วไปใช้ในครัวเรือน งานบริการ ขายสินค้าส่วนใหญ่อยู่กับที่ มีเคลื่อนที่บ้างส่วนน้อย ลงทุนเฉลี่ยต่อวันไม่เกิน5,000 บาท รายได้เฉลี่ยต่อวันระหว่าง 1,000-5,000 บาทมีจานวนร้อยละ73 รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เหลือเงินน้อยกว่า1,000บาท มีจานวนร้อยละ 63แหล่งเงินลงทุนมาจากเงินออมส่วนตัว เงินกู้ทั้งในระบบและนอกระบบและขอยืมญาติพี่น้อง สาเหตุที่ประกอบอาชีพนี้ได้เงินเร็วมีรายได้พอสมควร เคยคิดที่จะเปลี่ยนอาชีพแต่ไม่มีโอกาสมีมากถึงร้อยละ 66 แต่พอใจในการประกอบอาชีพนี้ ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรต้องให้ความสาคัญอาชีพส่วนตัวซึ่งทาให้ประชาชนมีรายได้ช่วยเหลือตนเองและครอบครัวเป็นการแก้ปัญหาความยากจนได้อีกทางหนึ่ง สิ่งที่ผู้ประกอบอาชีพส่วนตัวต้องการได้รับการช่วยเหลือเรียงลาดับคือการจัดสถานที่ให้ทาการค้าขายที่ดีและเหมาะสม ความช่วยเหลือด้านการเงิน ความต้องการด้านแนะแนวอาชีพและการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2556;
dc.source งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556
dc.subject อาชีพ th_TH
dc.subject ความยากจน th_TH
dc.subject ผู้ประกอบการ th_TH
dc.title อาชีพส่วนตัวกับการแก้ปัญหาความยากจนของผู้ประกอบการเขตดุสิต th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_134_56.pdf 560.8Kb PDF View/Open ปก
ird_134_56 (1).pdf 565.2Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_134_56 (2).pdf 512.7Kb PDF View/Open Abstract
ird_134_56 (3).pdf 617.4Kb PDF View/Open กิตติกรรมประกาศ
ird_134_56 (4).pdf 766.9Kb PDF View/Open บทที่1
ird_134_56 (5).pdf 1.094Mb PDF View/Open บทที่2
ird_134_56 (6).pdf 601.4Kb PDF View/Open บทที่3
ird_134_56 (7).pdf 961.4Kb PDF View/Open บทที่4
ird_134_56 (8).pdf 618.1Kb PDF View/Open บทที่5
ird_134_56 (9).pdf 603.4Kb PDF View/Open บรรณานุกรม

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account