dc.contributor.author |
ท่าห้อง, กิตติยา |
|
dc.contributor.author |
พูนศิลป์, อรรถกร |
|
dc.contributor.author |
สงวนพวก, ยิ่งยศ |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T06:53:20Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T06:53:20Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/227 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ระบบตรวจสอบความเชื่อมโยงเหตุการณ์เกี่ยวกับวัตถุระเบิดด้วยการเปรียบเทียบข้อมูลภาพถ่ายวัตถุพยาน มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวัตถุพยานประเภทสะเก็ดระเบิดที่เป็นเหล็กเส้นโดยอาศัยภาพถ่ายหน้าตัดของสะเก็ดระเบิดที่มีร่องรอยจากการใช้เครื่องมือในการตัดเหล็กแต่ละประเภท เพื่อนาไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการในการสืบหาแหล่งผลิต หรือกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบที่อาจจะเป็นกลุ่มเดียวกันได้ง่ายและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งในการดาเนินการวิจัยนั้นได้นาเทคนิคการประมวลผลภาพเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อทาการคัดแยกหน้าตัดประเภทต่างๆ โดยเริ่มจากการค้นหาบริเวณที่เป็นหน้าตัดสะเก็ดระเบิด และค้นหาบริเวณที่น่าจะเป็นลักษณะเด่น จากนั้นนาข้อมูลเชิงสถิติในบริเวณที่เป็นลักษณะเด่นป้อนให้กับโครงข่ายใยประสาทเทียมเพื่อทาการคัดแยกประเภทของหน้าตัด ซึ่งวิธีที่นาเสนอให้ความแม่นยาในการคัดแยกหน้าตัดที่ประมาณ 71% ซึ่งนับว่าเป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากภาพหน้าตัดแต่ละแบบมีรายเอียดที่แตกต่างกันน้อยมากและยากต่อการแยกแยะแม้กระทั่งจากสายตามนุษย์ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
TH |
TH |
dc.subject |
ระบบตรวจสอบ |
th_TH |
dc.subject |
เชื่อมโยงเหตุการณ์ |
th_TH |
dc.subject |
ภาพถ่ายวัตถุพยาน |
th_TH |
dc.title |
ระบบตรวจสอบความเชื่อมโยงเหตุการณ์เกี่ยวกับวัตถุระเบิดด้วยการ เปรียบเทียบข้อมูลภาพถ่ายวัตถุพยาน |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |