การศึกษา แนวทางการออกแบบและการบูรณะโบราณสถานเพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ กรณีศึกษา : อาคารศศิพงศ์ประไพ อาคารจุฑารัตนาภรณ์ อาคารอาทรทิพย์ นิวาส และอาคารเอื้อนอาช์วแถมถวัลย์ (

DSpace/Manakin Repository

การศึกษา แนวทางการออกแบบและการบูรณะโบราณสถานเพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ กรณีศึกษา : อาคารศศิพงศ์ประไพ อาคารจุฑารัตนาภรณ์ อาคารอาทรทิพย์ นิวาส และอาคารเอื้อนอาช์วแถมถวัลย์ (

Show full item record

Title: การศึกษา แนวทางการออกแบบและการบูรณะโบราณสถานเพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ กรณีศึกษา : อาคารศศิพงศ์ประไพ อาคารจุฑารัตนาภรณ์ อาคารอาทรทิพย์ นิวาส และอาคารเอื้อนอาช์วแถมถวัลย์ (
Author: หมั่นคติธรรม, วินัย
Abstract: การศึกษา แนวทางการออกแบบและการบูรณะโบราณสถานเพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์ ความเป็นมา เรื่องราวในอดีตของโบราณสถานนั้นๆ ที่ล้วนแล้วแต่มีความเชื่อมโยงบริบทของการดาเนินชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ที่มีการสืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่นในรูปแบบของสถาปัตยกรรม ทาให้เกิดการวิเคราะห์องค์ความรู้นั้น เพื่อนามาเป็นฐานข้อมูลในการดาเนินการพัฒนาและปรับปรุงต่อไป ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของการศึกษาวิจัยนี้ โดยแบ่งเนื้อหาที่ทาการศึกษาออกเป็น 3 ประเด็นได้แก่ 1) ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและอาคารโบราณสถาน 2) แนวทางในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม 3) วิเคราะห์การบูรณะโบราณสถานเชิงวิศวกรรม สาหรับระเบียบวิธีวิจัยจะใช้การสารวจอาคารโบราณสถาน ตาหนักทั้ง 4 หลัง เพื่อศึกษา เก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพ และสถาปัตยกรรมทั้งหมดในสภาพปัจจุบัน เพื่อนาไปเป็นฐานข้อมูลของอาคารรวมถึงทาการวิเคราะห์การงานใช้พื้นที่ภายในตามแผนที่มหาวิทยาลัยกาหนด และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ที่เกี่ยวข้องและมีความรู้ (Indepth Interview) โดยแบ่งกลุ่มการสัมภาษณ์ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่ 1 ทางด้านประวัติศาสตร์ของวังสุนันทา กลุ่มที่ 2 ผู้บริหารมหาวิทยาลัย และกลุ่มที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านงานอนุรักษ์โบราณสถาน จานวน 3-5 คน เพื่อสอบถามถึงความเป็นมา สภาพปัญหา แนวทางในการพัฒนา แนวทางในการอนุรักษ์และ ประโยชน์ที่จะได้รับ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบปรับปรุงต่อไป ผลของการวิจัย พบว่าลักษณะของสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นในสวนสุนันทาทั้งหมดจากการที่สารวจโบราณสถานตาหนักทั้ง 4 หลัง มีความเกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ กล่าวคือ เป็นตาหนักที่มีเจ้านายที่มีพระอิสริยยศสูงประทับอยู่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ ตัวอาคารก่อสร้างเป็นโครงก่ออิฐฉาบปูน ส่วนใหญ่จะเป็นตาหนักหลังเดี่ยวไม่มีลักษณะเป็นเรือนหมู่แบบไทย ความสูงมีตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไปจนถึง 4 ชั้น มีรูปแบบการตกแต่งของสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากชาติตะวันตกถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของสถาปัตยกรรมในยุคนี้ ดังนั้น แนวทางในการออกแบบและการบูรณะโบราณสถานเพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่จึงคานึงควบคู่ไปกับการอนุรักษ์โบราณสถาน ทั้งนี้ก็เพื่อให้ดารงไว้ซึ่งรูปแบบของสถาปัตยกรรมที่มีความงดงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตัวอาคาร แต่เสริมสร้างความเป็นสมัยใหม่เข้าไปในการตกแต่งออกแบบภายในและการใช้สอยอาคารเพื่อดาเนินตามแผนนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ ที่ต้องการให้พื้นที่เป็นศูนย์กลางแห่งศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทาการจาลองภาพต้นแบบอาคารที่แสดงรายละเอียดตัวอาคาร โครงสร้างและพื้นที่ใช้สอยเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
Description: งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/265
Date: 2015-06-20


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_163_54.pdf 109.7Kb PDF View/Open ปก
ird_163_54 (1).pdf 355.0Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_163_54 (2).pdf 471.8Kb PDF View/Open กิตติกรรมประกาศ
ird_163_54 (3).pdf 333.6Kb PDF View/Open บทที่ 1
ird_163_54 (4).pdf 786.6Kb PDF View/Open บทที่ 2
ird_163_54 (5).pdf 1.850Mb PDF View/Open บทที่ 3
ird_163_54 (6).pdf 1.644Mb PDF View/Open บทที่ 4
ird_163_54 (7).pdf 458.4Kb PDF View/Open บทที่ 5
ird_163_54 (8).pdf 282.8Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show full item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account