Abstract:
|
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การบริหารต้นทุนของกลุ่มผู้ผลิตน้้าตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงคราม” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาล้าดับความส้าคัญของต้นทุนในแต่ละด้านของกลุ่มผู้ผลิตน้้าตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงคราม และ (2) ศึกษาแนวทางการบริหารต้นทุนของกลุ่มผู้ผลิตน้้าตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตน้้าตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงคราม จ้านวน 11 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ท้าการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส้าเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่ากลุ่มผู้ผลิตน้้าตาลมะพร้าวให้ความส้าคัญกับต้นทุนด้านการผลิตมากที่สุด รองลงมาคือต้นทุนด้านการตลาด ต้นทุนด้านการเงิน และต้นทุนด้านการจัดการ ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดแต่ละด้านพบว่า (1) ต้นทุนด้านการผลิต ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ค่าวัสดุ (พะอง, ฟืน, พะยอม, ปี๊บ ฯลฯ) ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ต้นทุนสินค้าที่เสีย (2) ต้นทุนด้านการตลาด ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ค่าขนส่ง ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ส่วนลดการค้า (3) ต้นทุนด้านการเงิน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ การให้เครดิตกับลูกค้า ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ค่าธรรมเนียมและต้นทุนเก็บรักษาสินค้า และ (4) ต้นทุนด้านการจัดการ ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ส้านักงาน ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ค่าสวัสดิการสมาชิก ส้าหรับแนวทางการบริหารต้นทุนที่กลุ่มผู้ผลิตน้้าตาลมะพร้าวส่วนใหญ่ปฏิบัติ พบว่า (1) ต้นทุนด้านการผลิต จะใช้แนวทางการพัฒนาสายพันธุ์มะพร้าวต้นเตี้ย การผลิตแบบผสมผสานด้วยการปลูกพืชมากกว่า 1 ชนิด และการวางแผนบ้ารุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกันแทนเชิงแก้ไข ตามล้าดับ (2) ต้นทุนด้านการตลาด จะใช้แนวทางการลดการโฆษณาประชาสัมพันธ์ การลดจ้านวนพนักงานขายตรง และการขยายเครือข่ายร้านค้าในชุมชน ตามล้าดับ (3) ต้นทุนด้านการเงิน จะใช้แนวทางการผลิตสินค้าให้เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าเพื่อลดต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า การท้าบัญชีรายรับและรายจ่าย และการช้าระหนี้เจ้าหนี้ตรงตามก้าหนดเวลา ตามล้าดับ และ (4) ต้นทุนด้านการจัดการ จะใช้แนวทางการคิดค้นหาวิธีในการน้าเศษซากวัตถุดิบมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การฝึกอบรมสมาชิกให้มีความรู้ความช้านาญในการผลิต และการใช้ประโยชน์จากบุคลากรในพื้นที่ที่มีความช้านาญ ตามล้าดับ |