dc.contributor.author |
แจ่มพงษ์, ไพบูลย์ |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T11:21:35Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T11:21:35Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/357 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
องค์การบริหารส่วนตาบลสวนหลวง อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีนโยบายให้ชุมชนมีจิตสานึกในการดูแลรักษาความสะอาดในแต่ละครัวเรือน การศึกษาการใช้ประโยชน์และการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนประชาชน ครั้งนี้ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างครัวเรือน จานวน 375 ครัวเรือน โดยผู้ตอบแบบสอบถามของครัวเรือน เป็นหญิงมากกว่าชายเล็กน้อย มีอายุโดยเฉลี่ย 48.76 ปี ส่วนมากมีวุฒิการศึกษาในระดับประถมศึกษา ทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ ผลการศึกษาที่สาคัญพบว่า ในแต่ละครัวเรือนมีกิจกรรมทาให้เกิดขยะทุกชนิดมีน้าหนักรวมกันโดยเฉลี่ย 1.98 ก.ก./ครัวเรือน/วัน ขยะเปียกที่พบมากที่สุด ได้แก่ เศษอาหาร เศษข้าว เศษขนม ขยะรีไซเคิลที่พบมากที่สุด ได้แก่ ขวดพลาสติก ขวดแก้ว กล่อง/ลัง กระดาษ ขยะทั่วไปพบมากที่สุด ได้แก่ ถุงพลาสติก ถุงก๊อบแก๊บ สาหรับขยะอันตรายที่พบมากที่สุด ได้แก่ บรรจุภัณฑ์น้ายาทาความสะอาดสุขภัณฑ์ต่างๆ ในส่วนของกิจกรรมที่ทาให้เกิดน้าเสียหรือน้าทิ้งของครัวเรือนนั้น พบว่าเป็นกิจกรรม การหุงต้มประกอบอาหาร การซักล้างทาความสะอาดเสื้อผ้า การล้างถ้วยชามและใช้ในห้องน้าห้องส้วม มีจานวนใกล้เคียงกันทุกกิจกรรม ในด้านการจัดการขยะของครัวเรือนนั้น พบว่า ครัวเรือนร้อยละ 92.8 ได้ดาเนินการลดปริมาณขยะในครัวเรือน เช่น ใช้วัสดุหลายๆครั้งก่อนทิ้ง ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ใช้ปุ๋ยคอกแทนปุ๋ยเคมี ครัวเรือนร้อยละ 81.6 มีถังขยะประจาบ้านและร้อยละ 85.3 ทาการคัดแยกขยะ นาขยะไปใช้ประโยชน์ เช่น นาขยะรีไซเคิลไปขาย นาขยะเปียกไปทาปุ๋ยหมัก สาหรับขยะอื่นๆที่เหลือนั้น ครัวเรือนร้อยละ 45.6 นาไปกาจัดโดยการเผาไฟ ร้อยละ 41.3 นาไปทิ้งถังขยะของ อบต.ที่อยู่ใกล้บ้านและร้อยละ 5.6 นาไปฝังกลบตามลาดับ สาหรับน้าเสียหรือน้าทิ้งนั้นครัวเรือน ประมาณร้อยละ 38.4 ทิ้งลงในท่อระบายน้าทิ้งของครัวเรือนและอีกประมาณร้อยละ 27.2 ทิ้งลงใต้ถุนบ้านของตนเอง สาหรับปัญหาจากขยะของครัวเรือนนั้น พบปัญหาการแพร่ระบาดของสัตว์ที่เป็นพาหะนาโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบและหนู มากที่สุด รองลงมาเป็นปัญหา กลิ่นเหม็นรบกวนและสกปรก เลอะเทอะ ตามลาดับ ส่วนปัญหาที่เกิดจาก น้าทิ้งของครัวเรือน พบปัญหาการแพร่ระบาดของยุงมากที่สุด รองลงมาเป็นปัญหากลิ่นเหม็นรบกวนและปัญหาน้าขังแฉะ สกปรก เลอะเทอะ ตามลาดับ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language |
TH |
TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2555; |
|
dc.source |
งานวิจัยแหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2555 |
TH |
dc.subject |
ขยะชุมชน |
th_TH |
dc.subject |
การจัดการขยะในครัวเรือน |
th_TH |
dc.subject |
การจัดการน้าเสียในครัวเรือน |
th_TH |
dc.title |
การใช้ประโยชน์และการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนประชาชน ตาบลสวนหลวง อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |